วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ISDN คืออะไร

Integrated Service Digital Network คือบริการสื่อสารร่วม หมายถึงสามารถรับส่งสัญญาณภาพ เสียง และข้อมูลได้พร้อมกัน ในระบบดิจิตอล ทำงานโดยการหมุนโทรศัพท์ผ่านคู่สาย ISDN ซึ่งมีความเร็วสูงถึง 64 kbps - 128 kbps (สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 2 วงจร หรือ 2 sessionพร้อมกัน) และเนื่องด้วย ISDN เป็นการสื่อสารในระบบดิจิตอล ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องมีการแปลงสัญญาณจากอนาล็อกเป็นดิจิตอล ระบบจึงไม่มีสัญญาณรบกวน

การใช้งาน นอกเหนือจากการนำมาใช้ Internet ด้วยความเร็วสูงแล้ว เรายังสามารถนำ ISDN มาใช้ในลักษณะของ Video Conferrent หมายถึง การประชุมระหว่างประเทศ หรือจังหวัด โดยสามารถมองเห็นได้ทั้งภาพและเสียงในเวลาเดียวกัน

บริการของ ISDN แบ่งได้ 2 ประเภท
  • Individual
    เหมาะสำหรับตามบ้าน หรือองค์กรที่ไม่มีระบบ LAN หรือ หมายถึงผู้ใช้งานคนเดียว



  • Corporate หรือ LAN
    เหมาะสำหรับองค์กรที่มีระบบคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ค สามารถใช้งาน internet ได้หลาย ๆ คนพร้อมกัน

ขั้นตอนการขอใช้บริการ ISDN
  • ขอติดตั้งบริการ ISDN จากองค์การโทรศัพท์
  • ซื้ออุปกรณ์ ISDN modem หรือ ISDN Router
  • สมัครสมาชิกกับ บริษัทที่ให้บริการ internet หรือ ISP
เพิ่มเติม
  • กรณีใช้งาน ISDN ร่วมกับโทรศัพท์ ความเร็วจะถูกลดลงเหลือ 64 kbps
  • ค่าใช้จ่ายโทรศัพท์จะเกิดขึ้นทุกครั้งที่มีการใช้งาน ครั้งละ 3 บาท
  • ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น คือ การหมุนโทรศัพท์อาจเกิดปัญหาสายไม่ว่าง สายหลุด เช่นเดียวกับ Modem ธรรมดา

ความเปนมาของ FTTH

แนวความคิดในการนําระบบ FTTH เขามาใชเพื่อเชื่อมโยงสายสงสัญญาณดวยเสนใยนําแสงไปสูบานผูเชาโดยตรง เริ่มขึ้นในราวกลางทศวรรษที่ 1970's แตก็ไมประสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย อุปสรรคสําคัญในขณะนั้นคือ ระบบและเสนใยนําแสงมีราคาแพงมาก เมื่อเทียบกับระบบสายสงทองแดง ทําใหภาคธุรกิจไมสนใจลงทุนโดยเฉพาะในสวนที่ตองเชื่อมโยงเสนใยนําแสงสูบานผูเชาโดยตรง และเพื่อเปนการลดตนทุนในสวนนี้ ระบบFTTC (fiber to the curb) และระบบ HFC (hybrid fiber/coax) จึงไดถูกพัฒนาขึ้น โดยระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมานี้
จะใชระบบสายสงสัญญาณแบบผสม คือมีท้ังเสนใยนําแสงและสายสงทองแดงใชงานรวมกันในโครงขาย โดย
ระบบ FTTC จะเนนที่การใชงานสายสงเสนใยนําแสงตลอดโครงขายไปสิ้นสุดยังหัวถนนหรือปากทางเขาหมูบานเทานั้น ในสวนของสายสงที่เขาถึงบานผูเชายังคงเปนสายทองแดงอยู ทําใหระบบ FTTC และ HFC มีราคาถูกลง
กวา FTTH (ในขณะนั้น) มาก แตในขณะเดียวกัน ก็สามารถใหบริการขอมูลความเร็วสูงได เพราะโครงขายสวนใหญใชเสนใยนําแสงเปนทอนําสัญญาณ ทั้งนี้ ระบบ HFC กลับเปนที่นิยมกวา FTTC เพราะราคาคอนขางจะถูกกวา เนื่องจากระบบสายสงยังคงมีสวนประกอบของสายสงทองแดงมากกวา ตัวอยางของระบบ HFC ที่นํามาใชในบานเรา ไดแก ระบบเคเบิลทีวี (ที่เปนเคเบิลจริง ๆ ไมใชสวนของการรับสัญญาณผานดาวเทียม)
ตอมาเมื่ อถึงยุคสมัยของการสื่อสารขอมูลยุคโลกาภิวัฒ นดวยระบบอินเตอเน็ต ความตองการในการ
สื่อสารขอมูลเริ่มขยายตัวขึ้นมาก เพราะในทุก ๆ เดือน จะมีจํานวนผูใชบริการอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สงผลให
ความตองการในการสื่อสารขอมูลปริมาณมากที่มีความเร็วสูง ก็เริ่มเพิ่มมากขึ้นดวยตามลําดับ ในขณะที่โลกไดถูก
ยอลงดวยการเชื่อมโยงดวยระบบโครงขายและอินเตอรเน็ต ทําใหปริมาณผูใชที่ตองการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง
เริ่มมีมากขึ้น เชน กลุมผูใชที่เปนธนาคาร ตางตองการเชื่อมโยงระบบสื่อสารขอมูลของตนเองระหวางสาขาตาง ๆที่อยูในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ เปนตน เพื่อตอบสนองความตองการดังกลาว ผูใหบริการจึงไดนําระบบบริการแบบISDN (Integrated Services Digital Network) เขามาใช โดยตัวระบบทํางานสื่อสารขอมูลแบบดิจิตอล ทําใหขอมูลตาง ๆ ที่มีลักษณะพื้นฐานดั้งเดิมไมเหมือนกัน สามารถสื่อสารรวมกันได เนื่องจากขอมูลทุกประเภทจะถูกทําใหเปนดิจิตอล ซึ่งมีสถานะเพียง 2 ระดับ คือ ศูนย “0” กับหนึ่ง “1” เทานั้น ดังนั้นขอมูลทุกชนิดจึงถูกระบบมองเห็ นเปนแบบเดียวกั นหมด ทํ าใหสื่ อสารรวมกั นได นอกจากนี้ระบบ ISDN ยัง ถูกออกแบบให ใช สายสงเสนใยนําแสงเชื่อมโยงไปยังบานผูเชาหรือสํานักงานไดโดยตรง ผูเชาเพียงแตแจงความจํานงและเสียคาบริการเฉพาะ ก็สามารถใชงานได สําหรับผูใชบริการที่ตองการสื่อสารขอมูลสวนตัวดวยทอสัญญาณขนาดใหญ ก็อาจทําไดดวยการเชาสายสง (leased line) ที่เปนเสนใยนําแสง
ระบบ ISDN เปนระบบที่เสมือนเปนกาวแรกใหมีการใชเสนใยนําแสงเชื่อมโยงไปยังบานผูเชา แต ISDN
เองถูกออกแบบขึ้นโดยเนนที่ระบบสลับสายหรือสวิตชิ่ง (switching) อีกทั้งการเชาคูสายเสนใยนําแสงเพื่อขอใช
บริการ คอนขางจะมีราคาแพง ทําใหระบบ ISDN ไมเปนที่นิยมของผูใชบริการอินเตอรเน็ต แตดวยปริมาณขอมูลสื่อสารที่นบวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงไดมีการพัฒนาระบบ ADSL ขึ้น เพื่อใหผูเชายังคงสามารถใชสายสงทองแดงเดิมได แตในขณะเดียวกันก็สามารถสื่อสารขอมูลความเร็วสูงไดดวยการเพิ่มคาใชบริการอีกไมมากนักการเติบโตของของระบบอินเตอเน็ตในอัตรากาวหนา (หากมองเปนกาวกระโดก็คงไมผิดนัก) และความ
ตองการบริโภคขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ทําให ADSL เริ่มมีปญหาในการใหบริการ แมวา HDSL จะสามารถ
ใหบริการไดสูงถึง 40 Mb/s ก็ตาม ความนิยมของผูใชอินเตอรเน็ตที่ตองการสื่อสารขอมูลขนาดใหญ เชน ขอมูลภาพนิ่งที่มีความละเอียดสูง และ ขอมูลภาพเคลื่อนไหว ลวนเปนปจจัยที่ทําใหเกิดการแขงขันในการใหบริการแบบบรอดแบนด (Broadband) มากยิ่ งขึ้ น ประกอบกั บเทคโนโลยี ของระบบสื่ อสารดว ยเส นใยนําแสง มีการพัฒนาไปจากเดิมมาก ทําใหมีระบบสื่อสารเชิงแสงมีราคาถูกลง จึงไดมีการนําเทคโนโลยี FTTH เขามาใชใหม เพื่อเปนทางออกของการใหบริการแบบบรอดแบนด (จริง ๆ)
FTTH เริ่มทําใหตลาดการใหบริการขอมูลแบบบรอดแบนดชนิดเขาถึงบานผูใชโดยตรงเริ่มคึกคักขึ้นก็ในชวงเริ่มสหัสวรรษใหม (ตั้งแตปค.ศ. 2000 เปนตนมา) ปจจุบันในแตละเดือนจะมีจํานวนผูใช FTTH เพิ่มขึ้นถึงประมาณ 100,000 ราย ในบรรดาประเทศตาง ๆ ที่เปนผูนําในการใหบริการ FTTH เชน อเมริกา ออสเตรเลียญี่ปุน และบางประเทศในยุโรปนั้น ญี่ปุนดูจะเปนประเทศที่มีอัตราการเติบโตของ FTTH มากที่สุดในชวงไมกี่ปที่ผานมา ญี่ปุนเริ่มนําระบบ FTTH เขามาใชอยางจริงจังในป ค.ศ. 2002 (พ.ศ. 2545) โดยบริษัท NTT ทั้งนี้ผูใชบริการจะสามารถสื่อสารขอมูลดวยความเร็วขั้นต่ําประมาณ 100-150 Mb/s ดวยการเสียคาใชจายที่แพงกวาADSL ประมาณไมเกินสองเทา (แตขอมูลมีความเร็วมากกวารวม 100 เทา !) และเมื่อถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ.2005 (พ.ศ. 2548) ไดมีสมาชิกผูใชบริการมากถึง 2.8 ลานราย ทั้งนี้บริษัท NTT ตั้งเปาไววานาจะมีผูใชบริการถึง30 ลานรายในป ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553)
ในสวนของตลาดในเมืองไทย ระบบ ADSL เริ่มมีบทบาทในการทําใหธุรกิจการใหบริการขอมูลแบบบรอดแบนดมีความคึกคักขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2548 เปนตนมา ดวยการใหบริการขอมูลดวยอัตราเร็วประมาณ 1-2 Mb/sโดยผูเชาเสียคาบริการในอัตราที่ยอมรับได อีกทั้งการแขงขันที่กําลังกอตัวขึ้น นาจะมีแนวโนมทําใหคาบริการถูกลงพรอมกับการใหบริการดวยอัตราการสื่อสารขอมูลที่มีความเร็วเพิ่มขึ้น จึงไมนาแปลกใจเลยวา ปจจุบัน (พ.ศ.2549) เริ่มมีกลุมผูประกอบการหลายรายในเมืองไทย เริ่มหาพันธมิตรและวางแผนที่จะนําระบบ FTTH มาใหบริการในเมืองไทยกันแลว

ความสําคัญของ FTTH ในวงการสื่อสาร
ทําไมตองเปน FTTH
ปจจัยสําคัญที่ทําให FTTH เปนระบบที่นาสนใจสําหรับผูเชา (subscriber) หรือผูใช (user) โดยเฉพาะ
ผูใชบริการอินเตอรเน็ตมีอยู 2 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสารขอมูลดวยความเร็วสูง (high capacity)
และ ระบบมีความนาเชื่อถือ (system reliability)

ขอดีของระบบ FTTH
แนวความคิดของเทคโนโลยี FTTH มีมานานรวม 40 ป แตเพิ่งจะมามีบทบาทตอระบบสื่อสารในชวงเวลาเพียงไมกี่ปมานี้ ทั้งนี้มิใชเพียงแคเหตุผลที่เสนใยนําแสงมีราคาถูกลงเทานั้น แตยังมีองคประกอบอื่น ๆ ที่เปนขอดีของระบบ ดังนี้
• ระบบมีความเร็วสูง (High Capacity)
• เสนใยนําแสงมีขอดีเหนือระบบสายสงอื่นอยางมากตรงที่สามารถสื่อสารขอมูลขนาดใหญมากๆได เนื่องจากเสนใยนําแสงมีคุณสมบัติเสมือนเปนทอสงสัญญาณที่มีขนาดใหญมากนั่นเอง ใน
ระบบสื่ อ สารปจจุบันการสงขอมูลแบบดิจิตอลกำลังเปนที่นิยมเนื่องจากทําใหขอมูลมี
คุณภาพสูง อยางไรก็ตาม การสรางขอมูลดิจิตอลจากขอมูลดั้งเดิมที่เปนสัญญาณแอนะล็อก
(เชน ภาพและเสียง) ทําใหขอมูลมีขนาดใหญกวาเดิมมาก ดังนั้นหากตองการสงขอมูลขนาด
ใหญ ใหถึงปลายทางโดยรวดเร็วตองส่งผานสายสงดวยอัตราเร็ ว (bit rate) ที่สูงซึ่ง
เสนใยนําแสงสามารถรองรับการทํางานในลั กษณะเชนนี้ไดโดยไมจําเปนตองใชเทคนิคอื่น
เพิ่มเติมก็ได ในสวนของระบบ FTTH เอง ถูกออกแบบใหสามารถสื่อสารขอมูลที่ความเร็วปรกติ
ประมาณ 155 เมกกะบิตตอวินาที (Mb/s) ซึ่งถือวามีความเร็วมากกวาระบบ ADSL (ที่ความเร็ว
ปรกติ 1.5 Mb/s) รวมรอยเทาเลยทีเดียว
• ความเร็วในการสื่อสารขอมูลของ FTTH ที่ใหบริการในบานเรา อาจเริ่มตนที่ความเร็วต่ํากวา 155
Mb/s ซึ่งถือวายังต่ํากวามาตรฐานพื้นฐานของมัน แสดงใหเห็นวาระบบ FTTH สามารถรองรับ
การใชในงานการสื่อสารขอมูลความเร็วสูงมากในอนาคตไดอยางไมตองสงสัย หากผูใชบริการ
ตองการความเร็วที่มากขึ้น (แนนอนก็ตองเสียคาบริการเพิ่มขึ้น) ก็สามารถเลือกความเร็ว (ตามที่
ผูให บริการกําหนด)ได มากถึง 622 Mb/s หากขอมูล ที่วิ่ง อยู ระบบ FTTH ทํางานรวมกั บ
ระบบสื่อสารแบบ ATM (Asynchronous Transfer Mode) ในโครงขายสื่อสารที่ใหบริการ
• ยิ่งไปกวานั้น ระบบ FTTH ยังมีความยืดหยุนสูง หากมีการปรับปรุงระบบ PON (Passive
Optical Network ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป) ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น หรือ หากมีการนําระบบ DWDM
(Dense Wavelength Division Multiplex) ซึ่งเปนระบบการมัลติเพล็กสเชิงแสงที่ใชความยาว
คลื่นแสงเปนคลื่นพาห (carrier) มากกวาหนึ่งความยาวคลื่น (ดังที่ใชในระบบมาตรฐานของ
FTTH) ก็สามารถเพิ่มความเร็วของ FTTH ไดสูงถึง 2.488 Gb/s เลยทีเดียว.
• เมื่อเปรียบเทียบความเร็วในการสื่อสารขอมูล กับราคาการใหบริการซึ่งอาจสูงกวาระบบ xDSL
ไมมาก จะพบวาคาใชจายตอหนวยขอมูล (เชน y บาทตอขอมูลที่ 1 Mb/s) จะถูกกวาระบบที่ใช
ไฟฟาเปนสื่อสัญญาณมาก

x.25คืออะไร

X.25 คืออะไร

X.25 เป็นโพรโทคอลชนิดนึงที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในระบบ WAN โดยเป็นแบบ PACKET-SWITCHEDมันจะทำงานในส่วนของ OSI MODEl Layer ที่ 1 - 3

X.25 มีส่วนประกอบของการทำงานด้วยกันอยู่ 3 ส่วน ได้แก่

  • DTE - ได้แก่อุปกรณ์ ตัวสุดท้ายที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น TERMINAL,PC หรือ HOST ของเน็ตเวิร์ค
  • DCE - เป็นอุปกรณ์ตัวกลางที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ระหว่าง PSE กับ DTE (DTE ไม่มีความสามารถในการติดต่อ กับ PSE ได้โดยตรงจะต้องทำผ่านตัวกลาง DCE ทำหน้าที่ในการแปลงสัญญาญ CLOCK ก่อนถึงจะส่งข้อมูลไปหา DTE ได้)
  • PSE - เป็นสวิตท์ที่ทำหน้าที่เป็น แอร์เรีย เน็ตเวิร์ค ขนาดใหญ่ โดยจะทำการส่งข้อมูลไปยัง DTE ด้วยโปรโตตอล X.25

ในขณะเดียวกันเราจะ พบกับ PAD (Packet Assembler/Disassembler) ใน X.25 มันจะทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ระหว่าง DCE กับ DTE ให้สามารถทำงานได้เต็มรูปแบบ โดย เมื่อมีการส่งข้อมูลจาก PSE จะส่งมาที่ DCE หลังจากนั้น ข้อมูลจะถูกส่ง ให้กับ DTE แต่ในขณะที่ส่ง DCE จะทำการส่งผ่าน PAD ก่อน โดย PAD จะทำหน้าที่ เป็นบัฟเฟอร์ ในการกรอง ข้อมูล โดยการตัดส่วน ของ HEADER ของ X.25 ออก ก่อน

ข้อตกลงในการติดตั้งx.25 เมื่อ DTE 1ตัว ทำการร้องขอต่อส่วนการสื่อสารอื่น DTE จะทำการรับข้อตกลงหรือไม่รับก็ได้ ถ้ารับจะมีการทำงานในแบบ Full Duplex

การเลือกเส้นทางการส่งข้อมูล ของ x.25

มี 2 วิธี คือ

  • แบบ switched (SVCs) เป็นการเชื่อมต่อชั่วคราวใช้สำหรับถ่ายข้อมูลเป็นช่วงๆ ซึ่งวงจรที่ใช้ switched ได้แก่วงจร DTE ที่มี 2แหล่ง, maintain และTerminate

โดยอุปกรณ์แต่ละอย่างจำเป็นต้องใช้เพื่อการสื่อสารกัน

  • แบบ permanent (PVCs) เป็นการเชื่อมต่อแบบถาวรใช้สำหรับถ่ายข้อมูลที่การถ่ายโอนการบ่อยๆ ตัวPVCs ไม่ต้องการตัวสร้างและตัว Terminate.ดังนั้นทำให้ตัว

DTEทั้งหลายสามารถที่เริ่มทำการส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอเพราะตัวสร้างทำงานตลอดเวลา

โครงร่างส่วนประกอบของโพรโทคอล X.25

ประกอบด้วย Packet-Layer protocol (PLP) ,Link access Procedure,Balanced (LAPB) และการติดต่อแบบอนุกรมอื่นๆเช่น (EIA/TIA-232,EIA/TIA-449,EIA 530 และG.703)

แพ็คเกตและ เลเยอร์โพรโทคอล

ด้วย Packet-Layer protocol (PLP) มีหน้าที่ในการควบคุมการแลกเปลี่ยน packet ระหว่างอุปกรณ์ dte มันจะทำงานในระดับที่สูงกว่า Logical link control 2 (LLC2) อันได้แก่ ระบบ Lan และ ISDN โดยทำงานในระดับ Link Access Procedure on the D channel (LAPD) การทำงานของ PLP มีการทำงาน 5 ลักษณ์ คือ call setup,data transfer,idle,call clearing,และ restarting

  • call setup จะใช้กันระหว่าง SVCs กับอุปกรณ์ DTE จะทำงานในวงจรพื้นฐานโดยจะเลือกวงจรหลักหนึ่งวงจรที่ใช้ในการเรียก call setup mode ส่วนตัวอื่นจะเป็น data transfer mode. ในวิธีนี้จะใช้กับ SVCs เท่านั้นไม่รวม PVCs.
  • Data transfer mode ใช้สำหรับถ่ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ DTE 2 ตัวผ่านวงจรในอุดมคติ.ซึ่งในโหมดนี้ PLP ได้แบ่งเครื่องมือและตัวควบคุมออกเป็น bit padding , error และ flow
  • control ในวิธีนี้จะทำงานในวงจรพื้นฐานและใช้ได้ทั้ง PVCs และSVCs
  • Idle mode ถูกใช่เมื่อข้อมูลที่ถูกเรียกไม่มีในเส้นทาง มันจะทำการใช้เฉพาะเส้นทางพื้นฐาน ใช้ได้เฉพาะ svc
  • Restarting mode ใช้ในถ่ายโอนข้อมูลที่สัมพันธ์กันระหว่าง อุปกรณ์ DTE และ อุปกรณ์ติดต่อ DCE จะทำงานในเส้นทางของ svc กับ pvc

LAPB

LAPB เป็นข้อมูลเชื่อมต่อโพรโทคอลให้บริหารการติดต่อและรูปแบบแพ็คเก็ตระหว่าง อุปกรณ์ DTEและ DCE. LAPB เป็น bit-oriented โพรโทคอล ซึ่งเฟรมนั้นจะถูกต้องตามต้องการและไม่มีข้อมูลผิดพลาดแน่นอน. เฟรม LAPB ทั้ง 3ชนิดประกอบด้วย ข้อมูล,ส่วนตรวจสอบ,ส่วนไม่นับ. เฟรมข้อมูล (I-FRAME) จะพาข้อมูลส่วนบนของเลเยอร์และข้อมูลควบคุมบ่างส่วน. ฟังก์ชัน I-FRAME ประกอบด้วย ซีเควียนติง,ชาร์ตควบคุม,และส่วนหาและตรวจสอบข้อผิดพลาด. I-FRAME จะส่งพาหะและรับเลขลำดับ.เฟรมตรวจสอบ (S-FRAME) จะพาข้อมูลควบคุม.ฟังก์ชัน S-FRAME ประกอบด้วยส่งความต้องการและส่วนส่งพักตำแหน่ง,รายงานสถานะและรับรู้จาก I-FRAME . S-FRAME จะพาเฉพาะส่วนรับลำดับหมายเลข.ส่วนไม่นับ (U-FRAME) จะพาข้อมูลส่วนควบคุม. ฟังก์ชัน U-FRAME ประกอบด้วยส่วนติดตั้งเชื่อมโยงและตัดการติดต่อ คล้ายๆตัวรายงานข้อมูล ERROR . U-FRAME จะพาเฉพาะหมายเลขที่ไม่เป็นลำดับ

X.21bis

X.21bis เป็นเลเยอร์โพรโทคอลทางกายภาพที่ใช้ใน X.25 โดยอธิบายในรูปของอิเล็กทรอนิกส์และรูปของเครื่องจักรที่ใช้ในระดับกลางๆ. X.21bis เป็นเครื่องมือกระตุ้นและระงับของอุปกรณ์เชื่อมต่อ DTEและ DCEในระดับภายนอกกลางๆ.ซึ่งมันจะสนับสนุนการเชื่อมต่อแบบ จุดต่อจุด และมีความเร็วถึง19.2 kbps,และสัมพันธ์กัน,การส่งข้อมูลทางมีเดียร์เป็นแบบ full-Duplex มากกว่า 4เส้น


-ช่วยให้ remote Device สามารถที่จะติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูง

-Packet Switching เป็นเทคนิคในการหาเส้นทางให้กับแต่ละ packet ของ HDLC data ที่มีจุดหมายปลายทางต่างกัน

-x.25 protocol ทำงานบน 3 Layer ล่าง บน OSI Layer

-User ปลายทาง คือ DTE

-อุปกรณ์ที่ช่วยถ่ายทอดข่าวสารคือ DCE

-Switching virtual circuits (SVCs) คล้ายกับระบบโทรศัพท์ กล่าวคือ Create Connection แล้วส่งข่าวสาร และ close connection เมื่อเสร็จสิ้น ซึ่งทุก DTE จะมีที่อยู่ไม่ซ้ำกันบน Network

-Permanent virtual circuits (PVCs) ค้ลายกับระบบคู่สายเช่า ใช้การเชื่อมต่อเต็มเวลา packet จะถูกส่งออกไปโดยไม่มีการ create connection ขึ้นก่อน

-การสร้าง connection ใช้ SVC ทำโดย DTE ต้นทาง จะส่ง Call Request packet ซึ่งมีที่อยู่ของ DTE ปลายทางไปยัง Network และ DTE ปลายทางจะทำการตัดสินใจว่าจะตอบรับหรือไม่ ถ้าตอบรับก็จะส่ง Call Accepted packet กลับมา หรือถ้าไม่รับ จะส่ง Clear packet เมื่อต้นทางได้รับ Call Accepted packet แล้ว Virtual Circuit จะเกิดขึ้นทันทีแล้วจะเริ่มส่งข้อมูลกัน และเมื่อ DTE ใดต้องการยกเลิกการเชื่อต่อ ก็จะส่ง Clear Request packet ออกไปอีกฝั่งก็จะตอบรับด้วย Clear Confirmation packet

-ทุก packet จะถูกทำเครื่องหมายด้วย Logical Channel Identifier (LCI) หรือ Logical Channel Numer (LCN) ซึ่งจะใช้เป็นตัวตัดสินใจหาเว้นทางที่เหมาะสมไปยัง DTE ปลายทาง

-ขนาดของ packet จะมีตั้งแต่ 64byte ไปจน 4096 byte แต่ 128 byte คือ default

-store-and-forward is nuture of Packet Switching

-ปัญหาของ x.25 คือ Inherent Delay เพราะมาจากเทคนิค store-and-forward และยังต่อมีการจอง buffer ขนาดใหญ่ ซึ่งตรงข้ามกับ frame relay ที่จะไม่มีการ store แต่จะ switch หาเส้นทางที่เหมาะสมในทันที นอกจากนี้ x.25 ยังมีการตรวจสอบ Error ทุกครั้งที่ได้รับ packet และก่อนที่จะ switch ต่อไปอีกที่

-เมื่อตรวจพบ Erroe apcket ตัว Switching จะยกเลิก packet นั้นออกไปทันที ส่วน DTE ปลายทางก็จะรอจน Time-Out แล้วส่งใหม่

- x.25 เป็นจุดต้นกำเนิดของ frame relay หรือ Cell Relay

ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/X.25".

วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ออกข้อสอบปรัย 30 ข้อ

1.(IPV6) ย่อมาจากอะไร
ก. Internet Protocol Vertion6 ข. Vertion6
ค. Internet Protocol ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.
2.โพรโตคอลดังกล่าวทั้งหมดกี่ฉบับ
ก. 1ฉบับ ข. 2ฉบับ
ค. 3ฉบับ ง.4ฉบับ
เฉลย ง.
3.CATNIP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลยก.
4.TUBA ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ข.
5. SIPP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.
6.แนวทางในการพัฒนาIPV6 อย่างเป็นทางการไว้ในเอกสาร RFC 1752 โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
ก.นโยบายการแบ่งสรรหมายเลขไอพีแอดเดรส
ข.ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเรียกคืนชุดหมายเลขไอพีรุ่นที่ 4 ที่มีการใช้ประโยชน์ต่ำกว่าเกณฑ์กลับคืนมา
ค.- ให้ใช้หลักการแบ่งสรรหมายเลขไอพีคลาส A ที่เหลืออยู่แบบ CIDR
ง.ถูกทุกข้อ
เฉยล ง.
7.โครงการ IPng Area (คณะทำงานที่ถูกแต่งตั้งโดย Internet Engineering Task Force, IETF ในปีค.ศ.ใด
ก.1991 ข.1992
ค.1993 ง.1994
เฉลย ค.
8.คณะทำงาน IPng ถูกก่อตั้งขึ้นโดยใคร
ก.Steve Deering และ Ross Callon ข.adda
ค.Ping ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.
9.คณะทำงาน Address autoconfiguration ถูกก่อตั้งและนำทีมโดยใครบ้าง
ก. Ross Callon ข. Steve Deering
ค. Dave Katz ร่วมกับ Sue Thomson ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.
10.โครงการ IPng Area จะสิ้นสุดลงเมื่อปลายพ.ศ.ใด
ก.ปลายปี 1994 ข.ปลายปี 1997
ค.ปลายปี 1995 ง.ปลายปี 1990
เฉลย ก.
11.คุณลักษณะเฉพาะของ IPng APIs คืออะไรบ้าง
ก.ต้องสนับสนุน Authentication header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ข.ต้องสนับสนุน Privacy header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ค.ต้องมีการพัฒนาโครงร่างของระบบ Firewall สำหรับ IPng
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.
12.และในช่วงกลางปี 1994 เช่นกัน IPng ได้รับการกำหนดหมายเลขรุ่นโดยหน่วยงานใด
ก.ไม่มีข้อถูก
ข.Internet Assigned Numbers Authority(IANA)
ค.อเมริกา
ง.หน่วยงานจากญี่ปุ่น
เฉลย ข.
13.จากข้อ12.ได้รับเป็นรุ่นที่เท่าไหร่
ก.ให้เป็นรุ่นที่ 6 อันเป็นที่มาของ IPv6
ข.ให้เป็นรุ่นที่ 4 อันเป็นที่มาของ IPv4
ค.ให้เป็นรุ่นที่ 5 อันเป็นที่มาของ IPv5
ง.ให้เป็นรุ่นที่ 7 อันเป็นที่มาของ IPv7
เฉลย ก.
14. เอกสาร RFC1752 ชุดนี้ได้ถูกยอมรับและดำเนินการต่อโดยคณะทำงานภายใต้ IETF ที่ชื่อว่า อะไร
ก. Internet
ข. Engineering
ค.Internet Engineering Steering Group (IESG)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.
15. IP Address มีอยู่กี่ลักษณะ
ก.สองลักษณะด้วยกัน
ข.สามลักษณะ
ค.สี่ลักษณะ
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.
16. IP Address มีลักษณะบ้าง
ก. Static IP
ข. IP Address
ค. Dynamic IP
ง. Static IPและ Dynamic IP
เฉลย ง.
17.หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดสรร IP Address เหล่านี้คือ
ก.หน่ายงานจากต่างประเทศ
ข.หน่วยงานภายในประเทศไทย
ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.
18. IPv6 ประกอบด้วยเลขฐานสองจำนวนกี่บิต
ก.128 บิต ข.84 บิต
ค.32 บิต ง. 16 บิต
เฉลย ก.
19.จุดเด่นของ IPv6 ที่พัฒนาเพิ่มขึ้นมากจาก IPv4 คืออะไร
ก.ขยายขนาด Address ขึ้นเป็น 128 บิต สามารถรองรับการใช้งาน IP Address ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วได้
ข.เพิ่มขีดความสามารถในการเลือกเส้นทางและสนับสนุน Mobile Host
ค.สนับสนุนการทำงานแบบเวลาจริง (real-time service)
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.
20.เฮดเดอร์ของ IPV 6 เทียบกับของ IPV 4 จะสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างอะไรบ้าง
ก.ตำแหน่งที่ตัดออก ข.ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยน
ค.ตำแหน่งที่เพิ่ม ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.
21.Internet Protocol Vertion6 ย่อมาจาก
ก. IPV6 ข. IPS6
ค. IPT6 ง. IPI6
เฉลย ก.
22. IP Address มีชื่อเต็มว่า
ก. Internet Protocall Address ข. Internet Protocol Address
ค. Internat Protocall Address ง. Internets Protocol Address
เฉลย ข.
23. Internet Protocol version ใดที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน
ก. IPv1 ข. IPv2
ค. IPv3 ง. IPv4
เฉลย
24. เหตุใดจึงมีการคิดค้น Internet Protocol version ใหม่ขึ้น
ก. เพราะ IP Address ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้
ข. เพราะต้องมีการคิดค้นเวอร์ชันใหม่ทุกๆ 3 ปี
ค. เป็นการลงมติเห็นชอบจากเวทีโลก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ก.
25. IPv4 และ IPV6 แตกต่างกันอย่างไร
ก. IPv4 มี 128 บิต IPV6 มี 64 บิต
ข. IPv4 มี 128 บิต IPV6 มี 32 บิต
ค. IPv4 มี 32 บิต IPV6 มี 128 บิต
ง. IPv4 มี 32 บิต IPV6 มี 64 บิต
เฉลย ค.
26. ข้อใดผิด
ก. IPV6 ผู้บริหารมีส่วนในการบริหารจัดการงานมากขึ้น
ข. IPV6 ระบบมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
ค. IPV6 เครือข่ายมีการทำงานแบบ Real Time Processing
ง. IPV6 มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP)
เฉลย ก.
27. เหตุใดประเทศในแถบอเมริกาเหนือจึงไม่มีความจำเป็นต้องใช้ IPV6
ก. เพราะสังคมเป็นแบบประชาธิปไตย
ข. เพราะมี IP Address ที่กำหนดขึ้นใช้เองเฉพาะชาวอเมริกัน
ค. เพราะมีรากฐานเศรษฐกิจที่มั่นคง
ง. เพราะได้รับการจัดสรร IP Address ไปถึง 70% ของ IP Address ที่ใช้ทั่วโลก
เฉลย
.28. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการมี IP Address ที่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า
ก. สามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในการสื่อสาร
ข. เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้เหมือนคอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่ต้องผ่านระบบใดๆ
ค. ทำให้ระบบภายในของอุปกรณ์นั้นๆ เกิดผลเสีย
ง. ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
เฉลย ค.
29. เหตุใดเราจึงควรศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่อง IPV6
ก. เพราะหาก IPv4 ถูกใช้หมดไป IPV6 เป็นสิ่งที่จะแก้ปัญหานี้ได้
ข. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต
ค. เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจและโอกาสในหลายๆ ด้าน
ง. ถูกต้องทุกข้อ
เฉลย
.30. IPV6 มีการเชื่อมต่อภายในประเทศกี่องค์กร
ก. 4 องค์กร ข. 3 องค์กร
ค. 2 องค์กร ง. 5 องค์กร
เฉลย ก.
31. IPV6 มีขนาดเท่ากับกี่บิต
ก. 128 บิต ข. 56 บิต
ค. 24 บิต ง. 32 บิต
เฉลย
.32. IPV6 มีรูปแบบของ IP ADDRESS อยู่ทั้งหมดเท่าไร
ก. 9 ประเภท ข. 6 ประเภท
ค. 7 ประเภท ง. 5 ประเภท
เฉลย ค.
33. เมื่อจัดอันดับประเทศที่ได้รับการจัดสรรหมายเลข IPV6 มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งคือ
ก. ญี่ปุ่น ข. สหรัฐอเมริกา
ค. เวียดนาม ง. อังกฤษ
เฉลย ข.
34. เมื่อจัดอันดับประเทศที่ได้รับการจัดสรรหมายเลข IPV6 มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งคือ
ก. ญี่ปุ่น ข. สหรัฐอเมริกา
ค. เวียดนาม ง. อังกฤษ
เฉลย ข.
35. ข้อใดคือข้อเสียของ IPV6
ก. มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้
ข. เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด ต่างจากแต่ก่อนที่ไม่สามารถใช้งานได้ทุกเบอร์
ค. มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี
ง. ประเทศไทยยังมีการติดตั้งเครือข่าย IPv6 ไม่มากนัก จะเกิดขึ้นกับคนบางกลุ่มหรือกับผู้ให้บริการรายใหญ่ๆเท่านั้น
เฉลย ค.

IPv6 Packet Format


- สิ่งที่ควรจะรู้เกี่ยวกับ IPv6 เป็นอย่างแรกก็คือ packet format ของ IPv6 ครับ.. เพราะ packet format ก็คือ data structure ที่บอกว่า IPv6 สามารถทำอะไรได้บ้าง.. IPv6 packet ประกอบด้วย header, extended header, แล้วก็ payload ครับ .. Header ของ IPv6 ออกแบบมาให้มีขนาดคงที่และมีรูปแบบที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดย header จะประกอบด้วย field จำเป็นต้องใช้ในการ process packet ที่ทุกๆ router เท่านั้น พวก options ต่างๆ ที่อาจจะ process เฉพาะที่ต้น/ปลายทาง หรือ ที่ router บางตัวจะแยกออกมาไว้ที่ extended header แทน .. รายละเอียดของ extended header เดี๋ยวว่ากันในหัวข้อ extended header ละกันนะครับ.. ตอนนี้เรามาดูที่ header ของ IPv6 กันก่อน..
- จากรูปของ packet format จะเห็นว่า header ของ IPv6 ดู simple มากเมื่อเทียบกับ header ของ IPv4 เหตุผลก็เป็นไปตามนี้:
> Version ยังคงต้องมีเหมือนเดิม เพื่อใช้บอกว่า packet นี้เป็น IP version ไหน.. กรณีของ IPv6 ค่าของ version ก็จะเป็น 6
> Header length ถูกตัดออกไป เพราะขนาดของมันจะเป็น 40 octets เสมอ การกำหนดให้เป็น fixed length header ทำให้ประสิทธิภาพโดยรวมของการประมวลผล packet ดีขึ้น
> Type of Service ของ IPv4 ถูกแทนที่ด้วย Traffic Class ซึ่งใช้ระบุว่า packet นี้อยู่ใน class ไหนและมีระดับความสำคัญเท่าไหร่ เพื่อที่ router จะได้จัด schedule ในการส่ง packet ให้เหมาะสม
> Flow label ใช้ระบุ end-to-end traffic flow ระหว่างต้นทางกับปลายทาง ใน application นึงสามารถสร้าง flow ได้หลายๆ อัน อย่างเช่น video conference เราสามารถแยก flow ของภาพและเสียงออกจากกันได้ แม้ว่าจะเปิด socket ในการทำงานเพียง socket เดียว
> Total Length แทนที่ด้วย Payload length เพื่อระบุขนาดของ payload ในหน่วย octet (byte) ดังนั้นขนาดของ payload สูงสุดจะเป็น 65535 octets
> Identification, Flag, Segmentation, Protocol, Options, และ Padding ถูกย้ายไปอยู่ในส่วนของ extended header เพราะถือว่าเป็นส่วนที่ไม่จำเป็นต้อง process ในทุก router
> Hop Limit ถูกใช้แทน Time-To-Live ของ IPv4 ... ตาม IPv4 specification TTL จะเก็บเป็นเวลาจริงๆ หน่วยเป็นวินาที โดยระบุว่าแต่ละ router ต้องลด TTL ลงอย่างน้อย 1 วินาที แม้ว่าจะใช้เวลาประมวลผล packet น้อยกว่านั้น.. ในความเป็นจริงการประมวลผล packet เร็วมากครับ เพียงแค่ไม่กี่ usec เท่านั้น.. router ใหม่ๆ อาจจะทำได้น้อยกว่า 1 usec เสียอีก..router จึงลด TTL ครั้งละ 1 เสมอ .. TTL ก็เลยกลายเป็น hop count แทนที่จะเป็นเวลาจริงๆ ซึ่งก็เหมาะสมและง่ายต่อการประมวลผล... ใน IPv6 จึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า Hop limit เพื่อให้ตรงกับความหมายจริงๆ ของมัน
> Next Header ซึ่งใช้เป็นตัวบอกว่า extended header ตัวถัดไปเป็น header ประเภทไหน
> Header Checksum ถูกตัดออกเพราะว่ามันซ้ำซ้อนกับ function ของ protocol บน layer ที่อยู่สูงกว่า IP อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผล packet ด้วย เพราะ checksum ต้องคำนวณใหม่ที่ router เสมอ หากตัดออกก็จะลดภาระงานที่ router ได้ ..
Extended Headers
- มาถึง extended header กันบ้าง .. จากเหตุผลข้างบนที่ย้ายหลายๆ field มาเป็น extended header ทำให้ IPv6 มี extended header หลายๆ แบบเลยครับ แต่ละแบบก็เอาไว้ใช้ทำงานเฉพาะอย่างเพียงงานเดียว ..ใน 1 packet เราสามารถใช้ extended header ได้มากกว่า 1 อัน ดังนั้น เราจึงขอ service จาก IPv6 ได้มากกว่า 1 อย่าง .. IPv6 specification ล่าสุดกำหนดให้มี extended header อยู่ 6 แบบ ทุกแบบจะขึ้นต้นด้วย field "Next Header" เสมอ เพื่อระบุว่า extended header อันถัดเป็นชนิดไหน..

> Hop-by-Hop Options: เป็น option ที่ระบุให้ทุก router ที่อยู่ในเส้นทางระหว่างต้น/ปลายทางจะต้องทำตาม ตอนนี้ใน IPv6 specification มี option อยู่เพียงสองอัน คือ Jumbogram options สำหรับให้ IPv6 packet มีขนาดใหญ่กว่า 65535 octets ได้ ขนาดของ jumbogram สูงสุดคือ 2^32 octets (4,294,967,295 octets) เชียวล่ะครับ..อีก option นึงเอาไว้ทำ padding
> Routing: ใช้สำหรับทำ source routing ครับ.. คือต้นทางสามารถระบุเส้นทางที่ packet ต้องผ่านได้ โดย list เป็น router ที่ต้องส่ง packet ผ่านไปจนถึงปลายทาง.. Source routing ของ IPv6 สามารถระบุแต่ละ router ใน list ได้เลยว่าเป็น strict source routing หรือ loose source routing (หมายความว่าเราระบุ ทั้ง strict และ loose source routing ผสมกันได้) ซึ่งยืดหยุ่นมากกว่า source routing ของ IPv4 ที่จะบังคับว่า router ใน list ต้องเป็น strict หรือไม่ก็เป็น loose source routing ทั้งหมด
> Fragment: ใช้สำหรับทำ fragmentation เหมือนของ IPv4 แต่ที่ต่างกันก็คือ IPv6 จะมี function สำหรับหา path MTU ไว้อยู่แล้วเพื่อจะได้รู้ว่าขนาด Maximum Transfer Unit ที่เหมาะสมของ path นั้นๆ มีค่าเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นการทำ fragmentation จึงทำที่ source node เท่านั้น (IPv4 จะทำ fragmentation ทั้งที่ source node และ router)> Destination Options: ใช้งานคล้ายๆ กับ Hop-by-Hop option ครับ แต่จะเป็น option สำหรับปลายทางเท่านั้น.. ตอนนี้มีเพียง option เดียว คือเอาไว้ทำ padding
> Authentication: อันนี้ชื่อก็บอกอยู่แล้ว..ใช้สำหรับทำ authentication รายละเอียดจะอยู่ในเรื่อง IP Security (IPSEC) เอาไว้ว่างๆ จะเขียนมาให้อ่านครับ ถ้าเอามารวมกับ IPv6 เดี๋ยวจะยาวเกินไป
> Encapsulated Security Payload: ใช้สำหรับทำ encryption และ cryptography อื่นๆ รายละเอียดก็จะอยู่ใน IP Security เหมือนกัน..

- Extended header มีอย่างมากไม่เกินแบบละ 1 อัน ยกเว้น destination option header ซึ่งอาจจะมีได้ 2 อัน..อืมม..ทีนี้พอมี extended header หลายๆ แบบอย่างนี้ก็ต้องมีลำดับการเรียง extended header ให้ถูกต้องด้วย...ถ้าใส่กันเต็มๆ ก็จะเรียงลำดับตามนี้:
1. IPv6 header
2. Hop-by-Hop Options header
3. Destination Options header
4. Routing header
5. Fragment header
6. Authentication header
7. Encapsulating Security Payload header8. Destination Options header9. Upper-layer header (e.g., TCP, UDP)


- IPv6 header ได้ถูกออกแบบให้มีขนาด Header ลดน้อยลง โดยทำการย้ายฟิลด์ที่ไม่จำเป็น หรือที่เพิ่มออก โดยวางไว้หลัง IPv6 header และใช้การแจ้งเป็น Streamline header ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดำเนินการติดต่อกับ Router ทันทีทันใด

- IPv4 header กับ IPv6 header ไม่สามารถใช้ง่ายร่วมกันได้ ซึ่งในการวางระบบทั้ง Ipv4 และ IPv6 ต้องทำทั้งคู่เพื่อให้รู้จักรูปแบบของ Header ซึ่ง Header ของ IPv6 ใหญ่กว่าของ IPv4 สองเท่า และตำแหน่งที่อยู่ใหญ่กว่าถึง 4 เท่า

- เฮดเดอร์ของ IP โดยปกติจะมีขนาด 20 bytes ยกเว้นในกรณีที่มีการเพิ่ม option บางอย่าง ฟิลด์ของเฮดเดอร์ IP จะมีความหมายดังนี้

Version : หมายเลขเวอร์ชันของโปรโตคอล ที่ใช้งานในปัจจุบันคือ เวอร์ชัน 4 (IPv4) และเวอร์ชัน 6 (IPv6)
Header Length : ความยาวของเฮดเดอร์ โดยทั่วไปถ้าไม่มีส่วน option จะมีค่าเป็น 5 (5*32 bit)
Type of Service (TOS) : ใช้เป็นข้อมูลสำหรับเราเตอร์ในการตัดสินใจเลือกการเราต์ข้อมูลในแต่ละดาต้า แกรม แต่ในปัจจุบันไม่ได้มีการนำไปใช้งานแล้ว
Length : ความยาวทั้งหมดเป็นจำนวนไบต์ของดาต้าแกรม ซึ่งด้วยขนาด 16 บิตของฟิลด์ จะหมายถึงความยาวสูงสุดของดาต้าแกรม คือ 65535 byte (64k) แต่ในการส่งข้อมูลจริง ข้อมูลจะถูกแยกเป็นส่วนๆตามขนาดของ MTU ที่กำหนดในลิงค์เลเยอร์ และนำมารวมกันอีกครั้งเมื่อส่งถึงปลายทาง แอพพลิเคชั่นส่วนใหญ่จะมีขนาดของดาต้าแกรมไม่เกิน 512 byte
Identification : เป็นหมายเลขของดาต้าแกรมในกรณีที่มีการแยกดาต้าแกรมเมื่อข้อมูลส่งถึง ปลายทางจะนำข้อมูลที่มี identification เดียวกันมารวมกัน
Flag : ใช้ในกรณีที่มีการแยกดาต้าแกรม
Fragment offset : ใช้ในการกำหนดตำแหน่งข้อมูลในดาต้าแกรมที่มีการแยกส่วน เพื่อให้สามารถนำกลับมาเรียงต่อกันได้อย่างถูกต้อง
Time to live (TTL) : กำหนดจำนวนครั้งที่มากที่สุดที่ดาต้าแกรมจะถูกส่งระหว่าง hop (การส่งผ่านข้อมูลระหว่างเน็ตเวิร์ค) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการส่งข้อมูลโดยไม่สิ้นสุด โดยเมื่อข้อมูลถูกส่งไป 1 hop จะทำการลดค่า TTL ลง 1 เมื่อค่าของ TTL เป็น 0 และข้อมูลยังไม่ถึงปลายทาง ข้อมูลนั้นจะถูกยกเลิก และเราเตอร์สุดท้ายจะส่งข้อมูล ICMP แจ้งกลับมายังต้นทางว่าเกิด time out ในระหว่างการส่งข้อมูล
Protocol : ระบุโปรโตคอลที่ส่งในดาต้าแกรม เช่น TCP ,UDP หรือ ICMP
Header checksum : ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในเฮดเดอร์
Source IP address : หมายเลข IP ของผู้ส่งข้อมูล
Destination IP address : หมายเลข IP ของผู้รับข้อมูล
Data : ข้อมูลจากโปรโตคอลระดับบน

การใช้งานระหว่าง IPv4 และ IPv6

- การปรับเปลี่ยนเครือข่ายจาก IPv4 ไปสู่ IPv6 สามารถทำได้ 3 แนวทางคือ การทำ Dual Stacks , การใช้ Tunneling และการทำ Header Translation

1. การใช้สแต็กคู่ ( Dual Stacks ) คือ การทำให้โฮสต์สามารถใช้งานได้กับ IP address ทั้ง 2 version โดยจะพิจารณาว่าจะส่งข้อมูลไปโดยใช้ IP address version ไหนจากการส่ง packet ไปสอบถาม DNS ก่อนแล้ว จึงส่งข้อมูลตาม version ที่ DNS ตอบกลับมา ถ้า DNS ส่ง packet กลับมาเป็น IPv6 แสดงว่าโฮสต์ต้นทางจะต้องส่ง Packet เป็น IPv6 ข้อมูลจะสามารถส่งถึงโฮสต์ปลายทางได้

2.การใช้อุโมงค์เครือข่าย ( Tunneling) คือ วิธีการที่โฮสต์ต้นทางและโฮสต์ปลายทางใช้ IPv6 ทั้งคู่ แต่การสื่อสารระหว่าง 2 โฮสต์นี้ต้องกระทำผ่าน เครือข่าย IPv4 ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการ encapsulate IPv6 ให้เป็น IPv4 จึงจะสามารถส่งผ่านข้อมูลผ่านเครือข่าย IPv4 ได้ หลังจากนั้นโฮสต์ปลายทางจึงจะทำการดีแคปซูเลต IPv4 ให้เป็น IPv6 ตามเดิม

3. การแปลงเฮดเดอร์ (Header Translation) คือ วิธีการนี้ใช้เมื่ออินเตอร์เน็ตได้เปลี่ยนเป็น IPv6 แล้วแต่ยังมีบางเครือข่ายที่ยังเป็น IPv4 อยู่จึงจำเป็นที่จะต้องทำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ Header ทั้งหมด โดยใช้ตัวแปลงเฮดเดอร์ ซึ่งแปลงเฮดเดอร์ IPv6 ให้เป็น IPv4

• เทคนิคการทำ Translation เป็นวิธีที่ใช้กับการสื่อสารข้ามเครือข่าย เช่น โหนดจากเครือข่าย IPv4 ต้องการคุยกับเซิร์ฟเวอร์ ในเครือข่าย IPv6 หรือ โหนดที่เป็น IPv6 ต้องการคุยกับเซิร์ฟเวอร์ ที่เป็น IPv4

• หรือการทำ Translation คือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปมาระหว่างข้อมูลในรูปแบบของ IPv4 และ IPv6• เป็นกรณีที่ต่างไปจากการใช้งาน Dual stacks และ Tunnel

• การแปลงข้อมูลนี้สามารถทำได้หลายระดับ เช่น Network layer, Transport layer, หรือ Application layer

• ไม่ว่าจะทำการแปลงข้อมูลที่ระดับไหน องค์ประกอบสำคัญที่จำเป็นคือส่วนที่ทำหน้าที่แปลงหมายเลข IP address หรือ Address translation ซึ่งการแปลงหมายเลขสามารถทำได้โดยการจัดเก็บคู่หมายเลข IPv4 และ IPv6 address ทุกคู่ในเครือข่าย เราเรียกวิธีนี้ว่า Stateful address translation หรือจะทำการแปลงแบบอัตโนมัติ ที่เรียกว่า Stateless address translator ก็ได้

จุดเด่นของ IPv6 ที่เหนือกว่า IPv4

1. รูปแบบ Header ใหม่ IPv6 header ได้ถูกออกแบบให้มีขนาด Header ลดน้อยลง โดยทำการย้ายฟิลด์ที่ไม่จำเป็น หรือที่เพิ่มออก โดยวางไว้หลัง IPv6 Header และใช้การแจ้ง เป็น Streamline Header ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดำเนินการติดต่อกับ Router ทันทีทันใด IPv4 Header กับ IPv6 Header ไม่สามารถใช้ง่ายร่วมกันได้ ซึ่งในการวางระบบทั้ง IPv4 และ IPv6 ต้องทำทั้งคู่เพื่อให้รู้จักรูปแบบของ Header ซึ่ง Header ของ IPv6 ใหญ่กว่าของ IPv4 สองเท่า และตำแหน่งที่อยู่ใหญ่กว่าถึง 4 เท่า

2. มีขนาด Address มากขึ้น IPv6 มีการกำหนดตำแหน่งที่อยู่ผู้ติดต่อ และผู้รับการ ติดต่อเป็น 128 บิต ซึ่งมีจำนวนที่อยู่ถึง 3.4x1038 ทำให้มีการออกแบบเป็นหลายลำดับชั้น และ จองที่อยู่สำหรับ Internet Backbone เพื่อแยกจากเครือข่ายในองค์กรซึ่งเพียงไม่กี่เปอร์เซ็นต์ที่ ใช้สำหรับตำแหน่งโฮสต์ และมีที่อยู่จำนวนมาที่ใช้ในอนาคต ทำให้อ้างจะไม่จำเป็นที่ต้องใช้ NATs ในเครือข่ายอนาคตก็ได้

3. มีการกำหนดที่อยู่เป็นลำดับชั้น และกำหนดโครงสร้างการหาเส้นทางได้IPv6 Global Addresses ใช้บน IPv6 สามารถที่สร้างและกำหนดลำดับชั้นได้อย่างมีประสิทธิสำหรับการหา เส้นทาง และสิ่งที่เกิดขึ้นหลายลำดับในผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต บน IPv6 Internet, Backbone Routers ทำให้ขนาดข้อมูลใน Routing Table เล็กลง

4. ไม่จำเป็นที่ต้องแจ้งที่อยู่ก่อน หรือกำหนดที่อยู่ไว้ก่อนได้เป็นการกำหนดค่าโฮสต์ ซึ่ง IPv6 รองรับทั้งกำหนดค่าที่แจ้งไว้ก่อน เช่นการใช้ DHCP Server และการกำหนดค่าที่อยู่โดย ไม่แจ้งไว้ก่อนได้ (Stateless) ในกรณีที่ไม่มี DHCP Server อยู่ เครื่องโฮสต์บนลิงค์นี้จะ กำหนดค่าอัตโนมัติในตัวเองด้วย IPv6 addresses สำหรับลิงค์ (Link-Local Addresses) และ การกำหนดค่าที่อยู่โดยนำมาจากค่าประกาศด้านหน้าของ Routers แม้ว่าไม่มี Router โฮสต์ก็ สามารถที่ลิงค์ได้โดยกำหนดค่าที่อยู่ในลิงค์ท้องถิ่นเอง ด้วย Link-Local Addresses และการ สื่อสารโดยไม่ต้องกำหนดค่าที่อยู่ด้วยมือ

5. ฝังความปลอดภัยไว้ภายในรองรับ IPSec บนลำดับชั้นของ IPv6 ซึ่งรองรับเป็นทาง แก้ปัญหามาตรฐาน ซึ่งทำให้การสื่อสารระหว่างเครื่องมีความปลอดภัย6. รองรับบริการ Quality of Service (QoS) มีฟิลด์ใหม่ใน IPv6 Header ที่กำหนด สำหรับรองรับการระบุ ซึ่งระบุการจราจร โดยใช้ฟิลด์ Flow Label ใน IPv6 Header อนุญาตให้ Router ทำการระบุและดูแลแพ็ตเก็ตที่ไหล การไหลที่เป็นชุดของแพ็ตเก็ตระหว่างต้นทาง ไปยัง ปลายทาง โดยรองรับ QoS ทำให้ง่ายต่อการติดต่อให้บรรลุเป้าหมายเมื่อมี Packet Payload ถูกเข้ารหัสด้วย IPSec7. มีการติดตั้งกับเครื่องข้างเคียง Neighbor Discovery Protocol สำหรับ IPv6 เป็นชุด Internet Control Message Protocol สำหรับ IPv6 (ICMPv6) ซึ่งจัดการโหนดเพื่อนบ้าน

* IPv6 ใช้ 128 bits ในการระบุหมายเลข IP ในขณะที่ IPv4 มีพื้นที่ให้ระบุเพียง 32 Bits ทำให้ IPv6 สามารถรองรับจำนวนหมายเลข IP ได้มากกว่า

* IPv6 มีการกำหนดขนาดของส่วน Header เอาไว้ตายตัว ทำให้ความเร็วในการประมวลผลและการส่องต่อมีประสิทธิภาพขึ้น

* IPv6 มีการออกแบบ Header มาเพื่อช่วยให้การค้นหาเส้นทางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น

* IPv6 ตัดส่วนที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลออกไป เพราะหน้าที่สามารถให้ layer ข้างบนทำได้ เป็นการลดภาระงานของ Router ด้วย

* IPv6 สามารถรองรับต่อขนาดของข้อความ (payload) ได้ถึง 4 GiB. ซึ่ง IPv4 รองรับได้แค่ 64 KiB

* ส่วน OS ที่รองรับ ก็มี Linux , Windows XP/ Vista, Mac OS X

ที่มา : 1. http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/basic/tcp-ip.php
2. http://74.125.153.132/search?q=cache:aS_ouR6ZgfQJ:ccsmail.sut.ac.th/e-ru/teacher/file/file172.doc+ip+header+%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+IPV4&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th&lr=lang_th
3. http://eng.sut.ac.th/tce/Photos/couseonline/Gr14.pdf
4. http://kitty.in.th/index.php?room=article&id=83
5. http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=11256713b4c94964
6. http://kom.homelinux.org/node/288
7. http://www.specialist.co.th/se/web/news_detail.php?id=70

วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2552

ข้อสอบ60ข้อ

ข้อสอบ60ข้อ


1. ข้อใดคือ 11001010.00011101.00111001.00000010
ก. 202.50.5.3
ข.202.53.3.2
ค. 202.29.57.2
ง.202.29.52
เฉลย ค. 202.29.57.2

2.ข้อใดคือ 0111110.1.00011000.10011011.01000010
ก. 125.20.155.66
ข. 125.24.155.66
ค. 125.50.15.66
ง. 120.25.55.58
เฉลย ข. 125.24.155.66

3.42.58.5.29 คือ IP Class อะไร
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D

4.IP Class A รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8 Host
เฉลย ก. 2^10 Host

5. IP Private Class C รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8Host
เฉลย ง. 2^8Host

6. คลาสของ Network ข้อใดคือ class A
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.Nเฉลย ข. N.H.H.H

7.คลาสของ Network ข้อใดคือ Class C
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ก. N.N.N.H

8.Private IP Addresses Class B คือ
ก. 192.168.0.0 through 192.168.255.255
ข. 172.16.0.0 through 172.16.255.255
ค. 10.0.0.0 through 10.255.255.255
ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255
เฉลย ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255

9.Broadcast Address ของ Class C คือ
ก. 255.255.255.254
ข. 255.255.255.256
ค. 255.255.255.255
ง. 255.255.255.0
เฉลย ค. 255.255.255.255

10.ข้อใดคือ Private IP Address
ก. 12.0.0.1
ข. 172.20.14.36
ค. 168.172.19.39
ง. 172.33.194.30
เฉลย ข. 172.20.14.36

11.Subnet Mask ของ /17 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.248.0.0
ค. 255.255.192.0
ง. 255.255.248.0
เฉลย ก. 255.255.128.0

12.Subnet Mask ของ /25 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.255.255.128
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ข. 255.255.255.128

3.Subnet Mask ของ /20 คือ
ก. 255.255.240.0
ข. 255.240.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ก. 255.255.240.0

14.Network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.
เฉลย ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.

15.network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ
.เฉลย ค. 255.255.255.0

16.สัญลักษณ์ของการ Mark คือ
ก. #
ข. \
ค. .
ง. /
เฉลย ง. /

17.CIDR คือ
ก. การจัดสรร Subnet แบบไม่แบ่งคลาส
ข. การจัดสรร IP แบบไม่แบ่งคลาส
ค. การหาเส้นทางแบบไม่แบ่งคลาส
ง. การจับรอดแคสสัญญาณข้อมูล แบบไม่แบ่งคลาสเฉลย

18.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 3 Bit ของ Class C มี CIDR เท่ากับ
ก. /21
ข. /25
ค. /27
ง. /29
เฉลย ค. /27

19.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /15
ข. /17
ค. /19
ง. /21
เฉลย ง. /21

20.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 8 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /16
ข. /20
ค. /24
ง. /27
เฉลย ค. /24

21.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class A มี CIDR เท่ากับ
ก. /13
ข. /21
ค. /30
ง. ผิดทุกข้อ
เฉลย ก. /13

22.จำนวน Host ของการ Mark 4 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2024 Host
ข. 254 Host
ค. 18 Host
ง. 14 Host
เฉลย ง. 14 Host

23.จำนวน Host ของการ Mark 5 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Host
ข. 6 Host
ค. 14 Host
ง. 30 Host
เฉลย ข. 6 Host

24.จำนวน Subnet ของการ Mark 4 Bit Class A เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Subnets
ข. 6 Subnets
ค. 14 Subnets
ง. 30 Subnets
เฉลย ค. 14 Subnets

25. จำนวน Subnet ของการ Mark 6 Bit Class B เท่ากับเท่าใด
ก. 14 Subnets
ข. 30 Subnets
ค. 62 Subnets
ง. 126 Subnets
เฉลย ค. 62 Subnets

26.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.224
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ค. 30 Hosts

27.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ง. 62 Hosts

28.จำนวนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 4094 Hosts
ข. 521 Hosts
ค. 1024 Hosts
ง. 128 Hosts
เฉลย ก. 4094 Hosts

29.ต้องการใช้ Subnet จำนวน 29 Subnet จะยืม (Mark) จาก คลาส A เท่าไดไหร่
ก. 3
ข. 4
ค. 5
ง. 6
เฉลย ค. 5

30.จากข้อ 29 Subnet Mask ที่แสดงคือ
ก. 255.192.0.0
ข. 255.255.255.248
ค. 255.255.248.0
ง. 255.248.0.0
เฉลย ง. 255.248.0.0

31.ข้อไดไม่ใช่ Sub network ID สำหรับเครื่องที่ใช้ IP Address หมายเลข 200.10.5.68/28
ก. 200.10.5.56
ข. 200.10.5.32
ค. 200.10.5.64
ง. 200.10.5.0

32.ข้อใดคือ Network Address ของหมายเลข172.16.0.0/19
ก. 8 Subnets ; 2,046 Hosts
ข. 8 Subnets ; 8,198 Hosts
ค. 7 Subnets ; 30 Hosts
ง. 7 Subnets ; 62 Hosts

33.ข้อใดคือ Subnet ของ IP address 172.16.210.0/22
ก. 172.16.208.0
ข. 172.16.254.0
ค. 172.16.107.0
ง. 172.16.254.192

34.ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 201.100.5.68/28
ก. 201.100.5.31
ข. 201.100.5.64
ค. 201.100.5.65
ง. 201.100.5.1

35. ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 172.16.11.1/25
ก. 172.16.112.0
ข. 172.16.0.0
ค. 17.16.96.0
ง. 172.15.255.0กำหนด IP Address 192.168.1.1/28 จงคำนวณหา Sub network ID IP Usage และ Broadcast แลัวตอบคำถาม

36.หมายเลยใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.13
ข. 192.158.1.226
ค. 193.168.1.31
ง. 192.168.1.253

37.หมายาเลยใด เป็น Sub network Id ของ Subnet ที่ 00001000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.226
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.253

38.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 000010000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.16
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.32

39.หมายเลขใด เป็น Sub network ID ของ Subnets ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.111

40.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.100

41.หมายเลขใด เป็น IP Usage ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.50
ข. 192.168.1.96
ค. 192.168.1.81
ง. 192.168.1.10

กำหนด IP Address 102.168.1.1/27 จงคำนวณหา Sub network Id IP Usage และ Broadcast แล้วตอบคำถาม
42. ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.1
ข. 192.16.1.95
ค. 192.168.33
ง. 192.168.1.124

43.ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.0
ข. 192.168.1.06
ค. 192.168.32
ง. 192.168.1.159

44.หมายเลขใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.193
ข. 192.168.1.161
ค. 192.16.1.127
ง. 192.168.1.60

45.ข้อใดคือ IP Usage ของ Dub network 192.168.1.96
ก. 192.168.1.0 -192.168.1.31
ข. 192.168.1.65 - 192.168.1.04
ค. 192.168.1.97 – 192.168.1.126
ง. 192.168.1.95 – 192.168.1.127

จงใช้ภาพด้านล่างตอบคำถามข้อ
46-50กำหนดให้ใช้ IP Private Network Class C 192.168.1.1NET_A :13 HostsNET_B :50 HostsNET_C :2 HostsNET_D :25 Hosts46.Net_D ควรใช้ / อะไร
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /2947.จาก Network

47.ข้างต้น ใช้ Sub net mask อะไรจึงจะรองรับได้ทุก Network
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29

48.Net_C มีหมายเลย Sub net mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.266.255.252

49.Net_B มีหมายเลข Subnet Mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.255.2555.252

50.หากใช้ /26 หมายเลข Sub network IP ของ Network สุดท้ายคือ
ก. 102.168.1.128
ข. 192.168.1.192
ค. 192.168.1.191
ง. 192.168.1.255

51.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arq –a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Tracert

52. จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arp-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all

53.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Tracert-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all

54.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู computer Name คือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Nostname
ง. Tracert

55.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู IP และ Subnet Mask คือ
ก. IPconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert

56.การตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางคือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert

57.Destination Host Unreachable หมายความว่า
ก. ติดตั้ง IP ที่ Host ไม่ถูกต้อง
ข. ติดตั้ง Card LAN ไม่ถูกต้อง
ค. Host ไม่ถูกเชื่อมต่อกับเครื่องที่ PING
ง. HOST ไม่ถูกเชื่อมต่อกับระบบ

58.Tracert คือ
ก. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อจากต้นทางไปปลายทาง
ข. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. การตรวจสอบสถานะของระบบเครือข่าย
ง. ตรวจสอบความผิดพลาดของ Packet

59.การเข้าหน้า CMD ทำอย่างไรในครั้งแรก
ก. Start > run > cmd
ข. Start > run > connand
ค. Start > allprogram > accessories> command prompt

60.ARP(Address Resolution Protocol) หรือหมายเลข LAN Card มีกี่ไบต์
ก. 6 Bit
ข. 16 Bit
ค. 8 Bit
ง. 32 Bit

วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2552

Routing Protocol คืออะไร

Routing Protocol คืออะไร

Routing Protocol คือโพรโทคอลที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน routing table ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เช่น Router เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านี้สามารถส่งข้อมูล (IP packet) ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยที่ผู้ดูแลเครือข่ายไม่ต้องแก้ไขข้อมูล routing table ของอุปกรณ์ต่างๆตลอดเวลา เรียกว่าการทำงานของ Routing Protocol ทำให้เกิดการใช้งาน dynamic routing ต่อระบบเครือข่าย
RIP (Routing Information Protocol)
OSPF (Open Shortest Path First)
IGRP (Interior Gateway Routing Protocol) (Cisco Proprietary)
EIGRP (Enhanced Interior Gateway Routing Protocol) (Cisco Proprietary)
BGP (Border Gateway Protocol)
เมื่อเราแบ่งแยกตามลักษณะการใช้งานจะมีอยู่ 2 ประเภท คือ IGP (Interior Gateway Protocol) และ EGP(Exterior Gateway Protocol) โดย
IGP (Interior Gateway Protocol) เป็น ประเภทของ routing Protocol ที่มีลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ routing table ที่อยู่ภายใต้ (Autonomous System) AS เดียวกัน Autonomous System หมายถึง ระบบเครือข่ายที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล อยู่ ในภายใต้การบริหารของ ผู้ดูแลระบบ หรือมี policy เดียวกัน เช่น ระบบ network ของ องค์กร หรือบริษัทใดบริษัทหนึ่ง ถือว่าอยู่ภายใต้ผู้ดูแล กลุ่มเดียวกัน หรือ หลายๆ บริษัทที่มี policyเดียวกัน เช่น บริษัทใดบริษัทหนึ่งมี customer provider partner dealer ที่ต้องการใช้เครือข่ายร่วมกัน เพื่อ share ข้อมูลร่วมกันในการบริงานต่างๆ routing protocol ประเภท IGP เช่น RIP, IGRP (ยกเลิกการใช้ไปแล้ว), EIGRP, OSPF, IS-IS โดย IGP สามารถ แบ่งตาม ลักษณะการทำงานได้ 3 ชนิดคือ
1. Distance Vector Routing Protocol เป็น Protocol ที่ ใช้ ระยะทาง hop count ในการคำนวณเส้นทาง เช่น RIP ,IGRP
2. Link State Routing Protocol ใช้ algorithm ในการวาด topology ขึ้นมา แล้วนำมาควณเส้นทางที่ดีที่สุด เช่น OSPF, IS-IS
3. Hybrid Routing Protocol เป็นการนำข้อดีของ Distance Vector Routing Protocol และ Link State Routing Protocol มา เช่น EIGRP

EGP (Exterior Gateway Protocol) เป็น ประเภทของ routing Protocol ที่มีลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ routing table ที่อยู่ ต่าง AS กัน เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์กร โดยทั่วไปผู้ใช้ routing protocol ลักษณะนี้คือ Internet Service Provider (ISP), Internet Exchange (IX) เพราะ ใน Internet เป็น การรวมกันของ networkย่อยๆ ของหลายๆองค์กร จนครอบคลุมทั่วโลก โดย จะใช้ routing protocol ที่เรียกว่า BGP (Border Gateway Protocol)รวมกันของ networkย่อยๆ ของหลายๆองค์กร จนครอบคลุมทั่วโลก โดย จะใช้ routing protocol ที่เรียกว่า BGP (Border Gateway Protocol)

วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2552


Routerคืออะไร

ในอินเตอร์เน็ต Router เป็นอุปกรณ์ หรือบางกรณีอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ที่ใช้หาจุดต่อไปของเครือข่าย ที่แพ็คเกตสามารถส่งไปยังจุดหมายปลายทางได้ Router ต้องต่อกับเครือข่ายอย่างน้อย 2ข่าย และตัดสินใจเลือกเส้นทางที่สารสนเทศของแพ็คเกต ซึ่งทราบสถานะของเครือข่ายแล้ว ที่ต้องการติดต่อถึงRouter เป็นตำแหน่งของเชื่อมต่อของเครือข่าย หรือ gateway รวมถึง Internet POP โดยปกติRouter เป็นตำแหน่งของระบบสวิชต์ของเครือข่าย Router จะสร้างและรักษาตาราง routing (เส้นทางที่ใช้งานได้) และเงื่อนไขสำหรับการใช้เป็นสารสนเทศของระยะทาง และ algorithm ของค่าใช้จ่าย เพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดสำหรับแพ็คเกต ตามปกติ แพ็คเกตจะเดินทางผ่านจุดต่าง ๆ ของเครือข่ายตามเส้นทางก่อนถึงจุดหมายปลายทาง edge router เป็น Router ที่ใช้อินเตอร์เฟซกับระบบเครือข่ายแบบ asynchronous transfer mode ส่วน brouter เป็นเครือข่ายแบบสะพานที่รวมกับ Router

เราเตอร์ ( Router)
เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้
เราเตอร์ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งจะทำการรับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นเราจึงอาจใช้เราเตอร์เพื่อเชื่อมต่อ LAN หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกันได้ด้วย และจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็นโหนด ๆ หนึ่งใน LAN ทำให้เราเตอร์สามารถทำงานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อ หรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย

สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างบริดจ์กับเราเตอร์

คือ เราเตอร์มีการทำงานที่สูงกว่าคือ ในระดับชั้นที่ 3 ของ โมเดล OSI นั่นคือคือ Network Layer โดยจะใช้ logical address หรือ Network Layer address ซึ่งเป็นที่อยู่ซึ่งตั้งโดยซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้แต่ละเครื่องจะตั้งขึ้นให้โปรโตคอลในระดับ Network Layer รู้จัก

หน้าที่หลักของเราเตอร์

คือ การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น โดยในแต่ละเครือข่ายจะมีรูปแบบของ packet ที่แตกต่างกันตามโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบน (ตั้งแต่เลเยอร์ที่ 3 ขึ้นไป) เช่น IP, IPX หรือ AppleTalk เมื่อมีการส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของเลเยอร์ที่ 2 เมื่อเราเตอร์ได้รับข้อมูลก็จะตรวจดูใน packet นี้เพื่อจะทราบว่าใช้โปรโตคอลแบบใด ซึ่งเราเตอร์จะเข้าใจโปรโตคอลต่าง ๆ แล้ว จากนั้นก็จะตรวจดูเส้นทางส่งข้อมูลจากตาราง routing table ว่าจะต้องส่งข้อมูลนี้ไปยังเครือข่ายใดต่อจึงจะถึงปลายทางได้ แล้วจึงบรรจุข้อมูลลงเป็น packet ตามรูปแบบของเลเยอร์ที่ 2 อีกครั้งเพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายถัดไป

ข้อดีของการใช้เราเตอร์

1. ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด นั่นคือปริมาณการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่าย LAN หนึ่งจะไม่รบกวนการไหลเวียนข้อมูลของอีกเครือข่าย LAN หนึ่ง
2. มีความคล่องตัวในการทำงานสูง เนื่องจากสามารถทำงานร่วมกับโทโพโลยีได้ทุกชนิด
3. สามารถกำหนดความสำคัญในการส่งข้อมูลได้ เช่น สามารถกำหนดได้ว่าหากข้อมูลที่ส่งไปอยู่ในรูปแบบของโปรโตคอลที่มีลำดับความสำคัญสูง ก็สามารถลัดคิวส่งออกไปได้ก่อน
4.การปิดกั้นเครือข่าย หรือแยกเครือข่ายออกจากเครือข่ายที่ไม่ต้องการจะติดต่อด้วย ซึ่งเป็นการรักษาความปลอดภัยวิธีหนึ่ง
5.การเลือกเส้นทางในการที่จะส่งข้อมูล สามารถใช้เราเตอร์ช่วยในการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด

ข้อเสีย

1.เราเตอร์ทำงานภายใต้ OSI เท่านั้น และจะไม่ติดต่อหรือส่งข้อมูลในรูปแบบของโปรโตคอลที่ไม่รู้จัก
2.ราคาแพงกว่าสวิตช์และฮับมาก
คำถาม-ตอบ(20ข้อ)

1.เราเตอร์คืออะไร

ตอบ เราเตอร์คือฮาร์ดแวร์ชนิดหนึ่ง ที่คุณสามารถใช้ในการเชื่อมต่อ หรือ "สร้างเครือข่าย" ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ ภายในบ้านของคุณ ถ้าคุณใช้ DSL หรือเคเบิลโมเด็ม คุณสามารถใช้เราเตอร์ เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตร่วมกันภายในบ้านได้ (หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่าหนึ่งเครื่อง สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ในเวลาเดียวกัน

2.เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อ อะไร

ตอบ LANหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมา

3.เราเตอร์ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งทำงานแบบใด

ตอบ จะทำการรับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้

4. LAN ทำให้เราเตอร์สามารถทำงานอื่น ๆ อีกมาก คืออะไร

ตอบ รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อ หรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย

5.สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างบริดจ์กับเราเตอร์คือ

ตอบ เราเตอร์มีการทำงานที่สูงกว่าคือ ในระดับชั้นที่ 3 ของ โมเดล OSI นั่นคือคือ Network Layer โดยจะใช้ logical address หรือ Network Layer address ซึ่งเป็นที่อยู่ซึ่งตั้งโดยซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้แต่ละเครื่องจะตั้งขึ้นให้โปรโตคอลในระดับ Network Layer รู้จัก

6.หน้าที่หลักของเราเตอร์คือ

ตอบ การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น โดยในแต่ละเครือข่ายจะมีรูปแบบของ packet ที่แตกต่างกันตามโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบน (ตั้งแต่เลเยอร์ที่ 3 ขึ้นไป) เช่น IP, IPX หรือ AppleTalk

7.เมื่อมีการส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของอะไร

ตอบ เลเยอร์ที่ 2 เมื่อเราเตอร์ได้รับข้อมูลก็จะตรวจดูใน packet นี้เพื่อจะทราบว่าใช้โปรโตคอลแบบใด ซึ่งเราเตอร์จะเข้าใจโปรโตคอลต่าง ๆ

8.ข้อดีของการใช้เราเตอร์

ตอบ 1. ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด นั่นคือปริมาณการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่าย LAN หนึ่งจะไม่รบกวนการไหลเวียนข้อมูลของอีกเครือข่าย LAN หนึ่ง
2. มีความคล่องตัวในการทำงานสูง เนื่องจากสามารถทำงานร่วมกับโทโพโลยีได้ทุกชนิด
3. สามารถกำหนดความสำคัญในการส่งข้อมูลได้ เช่น สามารถกำหนดได้ว่าหากข้อมูลที่ส่งไปอยู่ในรูปแบบของโปรโตคอลที่มีลำดับความสำคัญสูง ก็สามารถลัดคิวส่งออกไปได้ก่อน
4. การปิดกั้นเครือข่าย หรือแยกเครือข่ายออกจากเครือข่ายที่ไม่ต้องการจะติดต่อด้วย ซึ่งเป็นการรักษาความปลอดภัยวิธีหนึ่ง
5. การเลือกเส้นทางในการที่จะส่งข้อมูล สามารถใช้เราเตอร์ช่วยในการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด


9.ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด นั่นคือ

ตอบ ปริมาณการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่าย LAN หนึ่งจะไม่รบกวนการไหลเวียนข้อมูลของอีกเครือข่าย LAN หนึ่ง

10.เราเตอร์ มีความคล่องตัวในการทำงานสูง เนื่องจากทำงานกับอะไร

ตอบ เราเตอร์ทำงานร่วมกับโทโพโลยีได้ทุกชนิด

11.เราเตอร์สามารถกำหนดความสำคัญในการส่งข้อมูลได้อย่างไร

ตอบ สามารถกำหนดได้ว่าหากข้อมูลที่ส่งไปอยู่ในรูปแบบของโปรโตคอลที่มีลำดับความสำคัญสูง ก็สามารถลัดคิวส่งออกไปได้ก่อน

12.ข้อเสียคือ

ตอบ 1. เราเตอร์ทำงานภายใต้ OSI เท่านั้น และจะไม่ติดต่อหรือส่งข้อมูลในรูปแบบของโปรโตคอลที่ไม่รู้จัก
2. ราคาแพงกว่าสวิตช์และฮับมาก


13.เราเตอร์ทำงานภายใต้อะไร

ตอบ OSI เท่านั้น

14.เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงในการเชื่อมต่ออะไร

ตอบ เครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยสามารถเชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลต่างกัน และใช้สื่อส่งข้อมูลต่างชนิดกันได้อย่างไม่มีขีดจำกัด

15.ตัวอย่างLANสามารถเชื่อมต่อได้อย่างไม่มีขีดจำกัดเช่นอะไร

ตอบ เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้สายส่งแบบ UTP เข้ากับ Token Ring LAN ได้

16.การที่เกตเวย์จะสามารถส่งข้อมูลจากเครือข่ายหนึ่งไปยังอีกเครือข่ายหนึ่งได้อย่างถูกต้องนั้น ตัวของเกตเวย์เองจะต้องสร้างตารางการส่งข้อมูล ที่เรียกว่า

ตอบ routing table ขึ้นมาในตัวของมัน ซึ่งตารางนี้จะบอกว่าเซิร์ฟเวอร์ไหนอยู่เครือข่ายใด และอยู่ภายใต้เกตเวย์อะไร ตารางนี้จะมีการปรับปรุงข้อมูลทุกระยะ สำหรับเครือข่ายขนาดใหญ่

17.อุปกรณ์เกตเวย์มีราคาแพงและติดตั้งยากหรือไม่

ตอบ ราคาแพงและขั้นตอนในการติดตั้งจะซับซ้อนที่สุดในบรรดาอุปกรณ์เครือข่ายทั้งหมด

18.อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นเกตเวย์อาจจะรวมเอาฟังก์ชันการทำงานที่เรียกว่า

ตอบ Firewall ไว้ในตัวด้วย ซึ่ง Firewall เป็นเหมือนกำแพงที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้คอมพิวเตอร์ที่อยู่นอกเครือข่ายของบริษัท เข้ามาเชื่อมต่อลักลอบนำข้อมูลภายในออกไปได้

19.สวิตช์ ( switch)เป็นอุปกรณ์เครือข่ายเช่นเดียวกันกับอะไร

ตอบ ฮับ ( hub) และมีหน้าที่คล้ายกับฮับมาก แต่มีความแตกต่างที่ ในแต่ละพอร์ต (port) จะมีความสามารถในการส่งข้อมูลได้สูงกว่า

20.collision มีความหมายว่า

ตอบ การชนกัน ซึ่งในทางคอมพิวเตอร์จะหมายความถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายมากกว่า 1 เครื่องพยายามที่จะทำการส่งข้อมูลในเวลาเดียวกัน ทำให้เกิดการชนกันของข้อมูลที่ทำการส่ง ซึ่งคำว่า collision domain นั้นจะมีความหมายว่าเครื่องที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน และมีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิด collision ขึ้นได้ collision จะมีโอกาสเกิดได้น้อยหากว่าจำนวนเครื่องที่อยู่ใน collision domain เดียวกันมีจำนวนน้อย ซึ่งสวิตช์จะทำให้เครือข่ายที่เชื่อมต่อเข้ากันแยกออกเป็นโดเมนย่อย ๆ




















วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ออกข้อสอบเพิ่มอีก4ข้อเป็น7ข้อ

4. รูแบบของ topology เครือข่ายหลักๆมีกี่รูปแบบ
ก. 3
ข.4
ค. 5
ง.6
ตอบ ค ได้แก่ 1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) 2.โทโปโลยีแบบดาว (STAR) 3.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) 4.โทโปโลยีแบบ (MESH) 5.โทโปโลยีแบบ (Hybrid)(ไม่มีข้อมูลลงบล็อก)

5.Bus มีรูปแบบเป็นอย่างไร

ก.เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก

ข.เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม

ค.เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย

ง.เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน

ตอบ ก Bus คือเป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น

6.รูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย เป็นรูปแบบของโทโปโลยี่แบบใด

ก.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING)

ข.โทโปโลยีแบบ (MESH)

ค.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)

ง.โทโปโลยีแบบ Hybrid

ตอบ ค คือ โทโปโลยีแบบดาว (STAR)เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป

7.ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือเป็นข้อดีของโทโปโลยี่แบบใด

ก.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)

ข.โทโปโลยีแบบ (Hybrid)

ค.โทโปโลยีแบบ (MESH)

ง. โทโปโลยีแบบดาว (STAR)

ตอบ ง คือ โทโปโลยีแบบดาว (STAR) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป

วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552

เครือข่ายความเร็วสูง Gigabit Ethernet

บทนำ

ปัจจุบันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้มีบทบาทต่อชีวิตประจำวันมากขึ้นทุกขณะ การเจริญเติบโตของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เหล่านี้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และยังไม่มีสัญญานบ่งบอกว่าจะมีการ ชลอตัวแต่อย่างใด เครือข่ายแบบท้องถิ่นในองค์กรต่างๆ ตลอดจน บริษัท สถานศึกษาส่วนใหญ่กว่า80% จะนิยมใช้เครือข่าย Ethernet ส่วนที่เหลือก็จะเป็นพวก FDDI/CDDI, ATM และอื่นๆ ด้วยความต้องการการส่งผ่านข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามขนาดและจำนวน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่บนเครือข่าย ตลอดจนการเติบโตของ Internet อย่างรวดเร็ว จึงทำให้เครือข่าย Ethernet แบบดั้งเดิมที่มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลอยู่ที่ 10 Mbps เริ่มจะไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Gigabit Ethernet (IEEE802.3z)เป็นมาตรฐานใหม่ของเทคโนโลยีเครือข่ายท้องถิ่น (LAN-Local Area-Network) ที่พัฒนามาจาก เครือข่ายแบบ Ethernet แบบเก่าที่มีความเร็ว 10 Mbps ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ระดับความเร็ว 1 Gbps ทั้งนี้เทคโนโลยีนี้ ยังคงใช้กลไก CSMS/CD ในการร่วมใช้สื่อเหมือนEthernet แบบเก่า หากแต่มีการพัฒนาและดัดแปลงให้สามารถรองรับความเร็วในระดับ 1 Gbps ได้
Gigabit Ethernet เป็นส่วนเพิ่มขยายจาก 10 Mbps และ 100 Mbps Ethernet (มาตราฐาน IEEE 802.3 และ IEEE802.3u ตามลำดับ) โดยที่มันยังคงความเข้ากันได้กับมาตราฐานแบบเก่าอย่าง100% Gigabit Ethernet ยังสนับสนุนการทำงานใน mode full-duplex โดยจะเป็นการทำงานในการเชื่อมต่อระหว่าง Switch กับ Switch และระหว่าง Switch กับ End Station ส่วนการเชื่อมต่อผ่าน Repeater, Hub ซึ่งจะเป็นลักษณะของShared-media (ซึ่งใช้กลไก CSMA/CD) Gigabit Ethernet จะทำงานใน mode Half-duplex ซึ่งสามารถจะใช้สายสัญญาณได้ทั้งสายทองแดงและเส้นใยแก้วนำแสง



หลักการพื้นฐาน

หลักการพื้นฐานที่สำคัญของ Gigabit Ethernet (IEEE802.3z) คือการปรับแก้ส่วนของ MAC Layer (Media Access Control Layer) โดยกลไกที่เรียกว่า Carrier Extension โดยกลไกตัวนี้จะทำการเพิ่มความยาวของเฟรมที่มีขนาดน้อยกว่า 512 ไบต์ โดยจะทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปยังส่วนท้ายของเฟรมเพื่อให้เฟรมข้อมูลนั้นมีขนาดเท่ากับ 512 ไบต์ เหตุที่ต้องทำเช่นนี้เนื่องมาจากว่าใน Ethernet แบบแรกที่ความเร็ว 10Mbps (IEEE802.3) นั้นได้มีการกำหนดออกแบบเอาไว้ว่าจะต้องสามารถ ตรวจจับ (detect) การชนการของข้อมูล (Collision) ได้เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่อยู่ห่างกัน 2 กิโลเมตร ส่งข้อมูลที่มีความยาว 64 ไบต์ออกมาในจังหวะเวลาที่ทำให้เกิดการชนกันของข้อมูล (Roundtrip Propagation Delay) ซึ่งเมื่อเกิดการชนกันขึ้น MAC Layer จะเป็นตัวที่ตรวจพบและมันจะทำการส่งสัญญาณเพื่อให้เครื่องที่ส่งข้อมูลชนกันหยุดการส่งข้อมูล และทำการสุ่มเวลาเริ่มต้นเพื่อนที่จะทำการส่งข้อมูลนั้นใหม่อีกครั้ง และใน 100 Mbps (IEEE802.3u)ก็ใช้ข้อกำหนดนี้ แต่ความเร็วที่เพิ่มขึ้นได้มาจากการเพิ่มสัญญาณนาฬิกาในการส่งข้อมูลให้เร็วขึ้นเป็น 10 เท่าจากของเดิม ทำให้เวลาที่ต้องใช้ในการส่งข้อมูลลดลง 10 เท่า ซึ่งทำให้ระยะห่างสูงสุดระหว่างเครื่องในเครือข่ายลดลง 10 เท่าเช่นกัน คือ จาก 2 กิโลเมตรเหลือเพียง 200 เมตรแต่เมื่อมีการเพิ่มความเร็วขึ้นอีก 10 เท่าใน Gigabit Ethernet จึงทำให้ระยะห่างดังกล่าวลดลงเหลือเพียง 20 เมตรบนสาย UTP cat5 ซึ่งไม่สามารถใช้งานได้ในสภาพการทำงานจริง ดังนั้น Carrier Extension นี่เองที่จะเข้ามาทำให้สามารถตัวจับการชนกันของข้อมูล เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอยู่ห่างกันที่ระยะ 200 เมตร

Carrier Extension กับ Throughput

การที่ต้องเพิ่มขนาดของเฟรมที่เล็กว่า 512 ไบต์ด้วยส่วนข้อมูลพิเศษต่อท้ายเพื่อให้มีขนาดเท่ากับ 512 ไบต์นั้นจะทำให้ค่า Throughput ลดลงเมื่อมีการส่งข้อมูลที่มีขนาดน้อยกว่า 512 ไบต์เป็นจำนวนมาก ซึ่งในกรณีที่แย่ที่สุดคือการส่งเฟรมขนาด 64 ไบต์ต่อเนื่องกันที่ความเร็ว 1 Gbps จะทำให้ throughput ประมาณ 12% หรือ 120 Mbps เท่านั้นเอง
แต่ในการใช้งานจริงการคำนวณหาค่า Throughput นั้นจะหาจาก ขนาดเฉลี่ยของเฟรมที่มีการส่งผ่านใน เครือข่ายนั้นๆ โดยค่านี้จะได้จากการเก็บสถิติแล้วหาเป็นค่าเฉลี่ยออกมา ซึ่งส่วนมากจะได้ค่าเฉลี่ยดังกล่าวอยู่ในช่วง 200-500 ไบต์ ซึ่งจะทำให้ได้ throughput ประมาณ 300-400 Mbps ซึ่งน่าจะเพียงพอต่อความต้องการในเครือข่ายในองค์กรต่างๆ
อนึ่งวิธีการทำ Carrier Extensionนั้นจะใช้ในการ กรณีที่เป็นการรับส่งข้อมูลแบบ Half-Duplex เท่านั้น เพราะในการรับส่งข้อมูลแบบ Fulle-Duplex นั้นจะมีการใช้สายรับและส่ง แยกกันคนละชุดจึงไม่มีการชนกันของข้อมูลที่วิ่งสวนทางกัน(Collision) จึงทำให้ไม่ต้องกังวลกับการตรวจจับการชนกัน

เทคนิค Packet Bursting

Packet Bursting เป็นเทคนิคที่จะลดข้อเสียของการใช้ Carrier Extension เทคนิคนี้จะทำงานโดยการเก็บรวบรวม เฟรมที่มีขนาดเล็กกว่า 512 ไบต์หลายๆเฟรมรวมกันให้มีขนาดมากกว่า 512 ไบต์ แล้วจึงทำการส่งออกไป ซึ่งการที่จะทำอย่างนี้ได้ต้องเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างตัวแอพพลิเคชั่นและตัว Gigabit Interface Card ซึ่งแอพพลิเคชั่นที่มีอยู่ปัจจุบันจะต้องได้รับแก้ไขเพื่อให้มีความสามารถในการจัดการกับข้อมูล โดยลักษณะที่จะมีการเก็บรวบรวมเฟรมข้อมูลให้ได้ขนาดที่ต้องการแล้ว ส่งออกไปทีเดียวนี่เองทำเช่นการขอเปิดเน็ตเวิร์คไฟล์ หรือการตอบรับ (Acknowledge) ซึ่งปัญหานี้กำลังอยู่ในระหว่างการตัดสินว่าจะให้มีการแก้ไขอย่างไร โดยอาจจะให้เป็นหน้าที่ของ Protocol ที่จะทำหน้าที่แก้ปัญหาให้ส่วนนี้ หรืออาจจะแก้ที่ตัว Packet Bursting ให้มีการกำหนดเวลาในการรวบรวมเฟรมที่มีขนาดเล็กกว่า 512 ไบต์ ซึ่งถ้าเกินเวลาที่กำหนดแล้วแต่ว่ายังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลได้มากว่า 512 ไบต์ ก็ให้ทำการส่งออกไปโดยใช้วิธี Carrier Extension

Buffer Distributor

Buffer Distributor เป็นอุปกรณ์ของ Gigabit Ethernet ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของระบบได้โดยลดข้อจำกัดของ Carrier Extension โดยอุปกรณ์นี้จะมีการทำงานที่รวมคุณลักษณะของ Repeaterและ Switch เข้าด้วยกัน อุปกรณ์นี้จะใช้การเชื่อมต่อแบบ Full-Duplex และ Flow Control(IEEE802.3x) มันสามารถทำงานเหมือนกับRepeater คือส่งข้อมูลทุก packet ไปยังทุกๆPort ที่มีการเชื่อมต่ออยู่ และสามารถทำงานในลักษณะของ Switchคือการรับข้อมูลจากหลายPort ได้พร้อมกันแล้วนำข้อมูลนั้นไปเก็บไว้ในหน่วยความจำ(Buffer) และเมื่อมีการเขียนลงจนเต็มทางอุปกรณ์นี้ก็จะใช้ Flow Control ส่งสัญญาณให้โหนดที่ส่งขอมูลนั้นหยุดคอยจนกว่า Buffer นั้นจะว่างลงอีกครั้ง (หลังจากอุปกรณ์ได้ทำการส่งข้อมูลในBuffer เหล่านั้นไปยังปลายทางเรียบร้อยแล้ว) วิธีนี้ก็จะสามารถให้ Throughput ได้เกือบ 100% แต่ข้อจำกัดของวิธีนี้คือทุกโหนดที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์นี้จะต้องเป็นแบบFull-Duplex และสนับสนุนมาตราฐาน IEEE 802.3x ด้วย

สายสัญญาณ

ในปัจจุบันแม้ว่าทางผู้ที่กำหนดมาตราฐาน IEEE802.3z จะได้กำหนดให้สามารถใช้สาย UTP cat5สำหรับรองรับความเร็วในระดับ 1 Gbps ได้แต่ก็ยังไม่มีผลิตภัณฑ์ในท้องตลาด (เป็นผลิตภัณฑ์ที่ออกมาก่อนมีการประกาศใช้มาตราฐาน)ชิ้นใดใช้สายUTP cat5 เป็นสายสัญญาณโดยทั้งหมดเลือกใช้เส้นใยแก้วนำแสง(Optic Fiber) ซึ่งถ้าเป็นสายแบบ Multi-mode ขนาด 62.5 micron และใช้ความยาวคลื่นแสง 780 nanometer จะได้ระยะไกลประมาณ 550 เมตร แต่ถ้าใช้สายแบบ Single-mode ที่ใช้ความยาวคลื่นแสง 1300 nanometer จะทำให้ส่งได้ไกลมากกว่า 2 กิโลเมตร เป็นที่ทราบกันว่าการใช้เส้นใยแก้วนำแสงนั้นจะทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สูงทั้งนี้เนื่องมาจากค่า หัวต่อและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค่าใช้ใจในการติดตั้งสาย และค่าบำรุงรักษา ทำให้ทางคณะทำงานเกี่ยวกับมาตราฐาน IEEE 802.3zได้พยายามเสนอให้มีการใช้สายทองแดงแบบอื่นเพื่อนำมาใช้งานในระยะที่ไม่เกิน 30 เมตร ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นกับสายทองแดงคือการเกิด Echo เมื่อสัญญาณไฟฟ้าวิ่งผ่านจากตัวทองแดงไปยังวัตถุอื่นที่เป็นทางผ่านของสัญญาณ เช่น หัวต่อ RJ45 ซึ่งการเกิดEcho นี้ก็มีใน Ethernet แบบ 10 และ 100 Mbps แต่ว่ายังไม่มีผลมากเมื่อเทียบกับการรับส่งที่ความเร็ว 1 Gbps



เครือข่ายความเร็วสูง Gigabit Ethernet

การเปลี่ยนไปใช้ Gigabit Ethernet
ทางคณะทำงานของ IEEE802.3z ได้เสนอการนำอุปกรณ์ Gigabit Ethernet ไปใช้ทดแทนนอุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วเพื่อเพิ่มความเร็วในการรับส่งข้อมูล โดยแบ่งได้เป็น 5 ขั้นตอนดังนี้

1.
เพิ่มความเร็วของ Switch-to-Server Linkวิธีการเพิ่มความเร็วที่ง่ายที่สุดก็คือการเพิ่มความเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่างตัว Gigabit switch กับ Serverประสิทธิภาพสูงซึ่งติดตั้ง Gigabit interface card รูปที่ 2.1 และ 2.2 แสดงการเปลี่ยนแปลงจากอุปกรณ์เครือข่ายแบบ Ethernet/Fast Ethernet ไปเป็น Gigabit Ethernet


2.
การแทนที่เครือข่ายแกนหลักที่ใช้ Fast Ethernet อยู่ก่อนในเครือข่ายขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางที่ใช้ Fast Ethernet Switch เป็นอุปกรณ์เครือข่ายแกนหลัก(Backbone Switch) ก็อาจจะรองรับความต้องการในรับส่งข้อมูลที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วไม่ได้ การนำ Gigabit Ethernet Switch มาทำหน้าที่เป็นBackbone Switch แทนก็จะทำให้สามารถเพิ่ม Bandwidth ได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการในปัจจุบันและอนาคต

3.
เพิ่มความเร็วของ Switch-to-Switch Link ในเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่ขึ้นและมี Ethernet/Fast Ethernet switch/repeater อยู่จะทำให้มีปริมาณข้อมูลที่ต้องส่งผ่านระหว่างSwitch/Repeater ที่มีServer ต่ออยู่ด้วยนั้นสูงมากจนต้องการการเพิ่มขยาย การนำ Gigabit Ethernet เข้ามาแทนที่ Ethernet/Fast Ethernet Switch/Repeater เหล่านี้ก็จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของระบบได้

4.
การแทนที่เครือข่ายแกนหลักที่ใช้ Shared FDDI อยู่ก่อนเครือข่ายที่ใช้เทคโนโลยี FDDI สามารถจะทำการเปลี่ยนมาใช้ Gigabit Ethernet ได้โดยการนำเอา Gigabit Ethernet Switch/Repeater ไปแทนที่ FDDI Concentrator หรืออาจจะเพียงนำ Gigabit Ethernet Interface Card ไปเปลี่ยนกับ FDDI Interface Card ในRouter ที่มีใช้งานอยู่แล้ว ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ต้องมีการลงทุนเกี่ยวกับเรื่องสายสัญญาณเลย เนื่องจาก FDDI ส่วนมากก็จะใช้ เส้นใยแก้วนำแสงเป็นพื้นฐานอยู่แล้ว



5.
การใช้ Network Interface Card ที่เครื่อง High-end Desktop ในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มความเร็วของระบบขั้นสุดท้ายก็คือการเพิ่มความเร็วระหว่าง อุปกรณ์ Gigabit Ethernet Switch/Repeater กับเครื่อง Desktop ระดับ Hi-end ที่ติดตั้ง Gigabit Ethernet Interface Card ทั้งนี้เพื่อรองรับปริมาณข้อมูลที่สูงมากๆ เช่น แอพพลิเคชั่นประเภทวิดีโอทั้งหลาย (VDO-Editing, VOD) หรืองานประเภท Data Ware House

Gigabit Ethernet กับ ATM

ด้วยความเร็วในระดับ 1 Gbps และราคาต่อ port ของ Gigabit Ethernet ที่ถูกกว่า เทคโนโลยี ATM ทำให้ดูเหมือนว่า Gigabit Ethernet อาจจะมาแทนที่ ATM ในอนาคต แต่โดยความเป้นจริงพื้นฐานทางด้านการออกแบบปล้วจะพบว่า เทคโนโลยีทั้งสองนั้น ออกแบบมาบนพื้นฐานที่ต่างกันออกไป ทำให้แต่ละอันนั้นมีข้อดีข้อเสียต่างออกไป นั่นคือ Gigabit Ethernet นั้นออกแบบโดยมีจุดประสงค์หลักในการเข้ากันได้กับEthernet รุ่นก่อนๆที่ได้มีใช้กันอย่างแพร่หลายแล้วในปัจจุบันนี้ ซึ่งจะมีข้อเสียตรงที่ว่ามันจะออกแบบมาเพื่อการรับส่องข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่านั้น ในขณะที่เทคโนโลยี ATM เป็นเทคโนโลยีใหม่แล้สามารถจะสนับสนุน Ethernetแต่ก็จะมีราคาต่อ port ที่แพงกว่า Gigabit Ethernet ส่วนข้อดีของ ATM คือการที่มันออกแบบมาโดยให้มีขนาดของเฟรมของข้อมูล (จะเรียกว่า Cell)ที่มีขนาดคงที่ซึ่งจะไม่มีปัญหาเรื่องThroughput อย่าง Gigabit Ethernetดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น นอกจากนี้เทคโนโลยี ATMได้ออกแบบมาเพื่อรองรับข้อมูลได้หลายประเภททั้งข้อมูลที่ขึ้นและไม่ขึ้นกับเวลาจริง(non-Real-time และ Real-time Data)

คุณภาพของการบริการ (Quality of Service, QoS)


QoS เป็นระดับในการให้บริการข้อมูลซึ่งมันจะรับประกันอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลหนึ่งๆที่อยู่ในรดับเดียว จะถูกกำหนดไว้ให้โดยเฉพาะ(Dedicated bandwidth) ซึ่งสามารถพบบริการเหล่านี้ได้ใน เทคโนโลยี ATM ซึ่งเป็นการใช้ QoS กับ Real-time Data เพื่อให้ Gigabit Ethernet สามารถรองรับการรับส่งข้อมูลเวลาจริง (Real-time data) และสนับสนุนQoS คณะทำงานของ IEEE802.3z จึงได้ทดลองนำเอากลไก RSVP (Resource Reservation Protocol) มาใช้เพื่อให้ Gigabit สามารถรองรับ QoS ซึ่งก็ยังไม่ได้มีการประกาศเป็นมาตราฐานออกมา ณ.ขณะนี้

คำถาม-ตอบ (5ข้อ)

1.Gigabit Ethernet (IEEE802.3z)เป็นมาตรฐานใหม่ของอะไร

ก.เทคโนโลยีเครือข่ายท้องถิ่น (LAN-Local Area-Network)

ข.ประเทศทั่วโลก

ค.กรุงเทพ

ง.มหาวิทยาลัย

ตอบ.ก.
เทคโนโลยีเครือข่ายท้องถิ่น (LAN-Local Area-Network) ที่พัฒนามาจาก เครือข่ายแบบ Ethernet แบบเก่าที่มีความเร็ว 10 Mbps ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ระดับความเร็ว 1 Gbps ทั้งนี้เทคโนโลยีนี้ ยังคงใช้กลไก CSMS/CD ในการร่วมใช้สื่อเหมือนEthernet แบบเก่า หากแต่มีการพัฒนาและดัดแปลงให้สามารถรองรับความเร็วในระดับ 1 Gbps ได้

2.หลักการพื้นฐานGigabit Ethernet (IEEE802.3z) คืออะไรบ้าง

ก.ความเร็วสูง

ข.ความเร็วต่ำ

ค.แบบเก่า

ง.หลักการพื้นฐานที่สำคัญของ Gigabit Ethernet (IEEE802.3z) คือการปรับแก้ส่วนของ MAC Layer (Media Access Control Layer) โดยกลไกที่เรียกว่า Carrier Extension

ตอบ ง.การปรับแก้ส่วนของ MAC Layer (Media Access Control Layer) โดยกลไกที่เรียกว่า Carrier Extension โดยกลไกตัวนี้จะทำการเพิ่มความยาวของเฟรมที่มีขนาดน้อยกว่า 512 ไบต์ โดยจะทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปยังส่วนท้ายของเฟรมเพื่อให้เฟรมข้อมูลนั้นมีขนาดเท่ากับ 512 ไบต์

3.Carrier Extension กับ Throughputมีขนาดของเฟรมเท่าใด

ก.มีขนาด2.36

ข.512ไบต์

ค.785ไบต์

ง.325ไบต์

ตอบข.การที่ต้องเพิ่มขนาดของเฟรมที่เล็กว่า 512 ไบต์ด้วยส่วนข้อมูลพิเศษต่อท้ายเพื่อให้มีขนาดเท่ากับ 512 ไบต์นั้นจะทำให้ค่า Throughput



โทโปโลยีโทโปโลยี

ของเครือข่าย (Network Topology) จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะทางกายภาพ ( Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงตำแหน่งของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของอุปกรณ์เหล่านี้ประเภทของโทโปโลยีโทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology)
โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
โทโปโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

การเชื่อมต่อแบบ BUS
โปรโตคอล Ethernet สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus โดยใช้สาย Coaxial และแบบ Star ใช้สายทองแดงคู่ดีเกลียว (สาย UTP) การเชื่อมต่อแบบ Bus จะเป็นตามมาตรฐานของ 10Base2 เป็นรูปแบบเชื่อมต่อสายโดยใช้สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) มีเส้นศูนย์กลาง ? นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial ความยาวโดยรวมของสายทั้งหมดจากเครื่องต้นทางถึงเครื่องปลายทางต้องไม่เกิน 180 เมตร บางทีก็เรียกสาย Coaxial ว่าสาย RG-58 (มีความต้านทาน 50 โอห์ม) การเชื่อมต่อแบนี้ไม่ต้องใช้ฮับเป็นตัวกลาง ทำให้มีต้นทุนต่ำแต่ประสิทธิภาพการทำงานจะไม่ดีเท่าที่ควร วิธีการเชื่อมต่อสายระหว่างจุดต่อจะใช้ตัว T-Connector เป็นตัวกลาง และจะมีหัวต่อ BNC สำหรับต่อเข้ากับการ์ดเน็ตเวิร์ก และสิ่งสำคัญจะต้องมีตัว Terminator ปิดที่ปลายสายของทั้งสองด้านจากรูปที่ 2.13 ก. เป็นรูปการเชื่อมต่อสาย Coaxial เข้ากับการ์ดเน็ตเวิร์ก โดยมีตัว T-Connector เป็นตัวกลาง โดยมีความยาวของสายในแต่ละช่วงจะต้องไม่ต่ำกว่า 0.5 เมตร และมีตัว Terminator ปิดที่ปลายสายของทั้งสองด้านอีกด้วยปัจจุบันการเชื่อมต่อแบบ Bus ไม่เป็นที่นิยมใช้งาน เพราะมีความเร็วต่ำเพียง 10 เมกกะบิตต่อวินาทีและข้อจำกัดด้านความยาวของสาย

ข้อดี-ข้อเสีย ของBUS Topology
ข้อดี
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งมีโครงสร้างง่ายและระบบก็มีความน่าเชื่อถือเพราะใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียวง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ
ข้อเสีย
การตรวจหาข้อผิดพลาดของระบบทำได้ยาก ในกรณีที่สายส่งข้อมูลเกิดเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้

การเชื่อมต่อแบบ Star
การเชื่อมต่อแบบ Star จะเป็นตามมาตรฐานของ 10BaseT เป็นรูปแบบการใช้สาย Twisted Pair ในการรับ-ส่งมีความเร็ว 10/100 Mbps ด้วยสัญญาณแบบ Base band จะใช้สาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งจะมีสายเล็กๆ ภายใน 8 เส้นตีเกลียวกัน 4 คู่ ความยาวของสายแต่ละเส้นจากเครื่องถึงฮับจะต้องไม่เกิน 100 เมตร (ทางที่ดีไม่ควรเกิน 80 เมตร เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน) ปัจจุบันนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบนี้มากที่สุด

ข้อดี-ข้อเสีย ของStar Topology

ข้อดี
ง่ายในการให้บริการ- อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่ง 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ในระบบไม่มีผลกระทบต่อการทำงานในจุดอื่นๆ- ตรวจหาข้อผิดพลาดได้ง่ายข้อดี-ข้อเสีย ของStar Topology

ข้อเสีย
ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมากถ้าจุดศูนย์กลางเกิดการเสียหาย จะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถจะทำงานได้
โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
โทโปโลยีแบบวงแหวนนี้จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นห่วงหรือวงแหวน การเชื่อมต่อแบบนี้สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว และจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งจะทำหน้าที่ทวนสัญญาณไปในตัวแล้วส่งผ่านไปเครื่องถัดไป ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดหยุดทำงานก็จะทำให้ระบบเครือข่ายล่มเช่นกัน

ข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology

ข้อดี
ใช้สายส่งข้อมูลน้อยจะใกล้เคียงกับแบบ Busประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology

ข้อเสีย
ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด

โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)

โทโปโลยีเมซคือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบสมบูรณ์ กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะเชื่อมต่อถึงกันหมดโดยใช้สายสัญญาณทุกการเชื่อต่อ วิธีการนี้จะเป็นการสำรองเส้นทางเดินทางข้อมูลได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้าสายสัญญาณเส้นใดเส้นหนึ่งขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นที่สามารถส่งข้อมูลได้ นอกจากนี้ยังเป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียก็คือ เครือข่ายแบบนี้จะใช้สัญญาณมาก ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มขึ้นโทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)

ข้อดีข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบ (Mesh Topology )

ข้อดี
ของการเชื่อมต่อแบบเมซคือ การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำเป็นหรือสำคัญเท่านั้น

ข้อเสีย
ก็คือการเชื่อมต่อหลายจุด